Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน ( Birth asphyxia/Perinatal asphyxia) ทารกแรกเกิดไม่สามาร…
ภาวะขาดออกซิเจน
( Birth asphyxia/Perinatal asphyxia)
ทารกแรกเกิดไม่สามารถหายเองได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
กลไลการเกิด
กลไกการไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้อง
มีการหยุดไหลเวียนหรือไหลเวียนลดลง
สายสะดือถูกกด
ไม่มีการแกเปลี่่ยนออกซิเจนทีรก รกแยกตัวออกจากมดลูก
รกลอกตัวก่อนกําหนด (Abrubtio Placenta)
มีการนําออกซิเจนหรืออาหารจากมารดาไปยังทารกทางรกไม่เพียงพอ
มารดามีภาวะความดันโลหิตสูง
ปอดทารกมีการขยายไม่เต็มทีและการไหลเวียนเลือดยังคงเป็นแบบในครรภ์ ไม่สามารถปรับการหายใจ หลังคลอดเปนแบบผู้ใหญ่ได้ มีน้ำคั่งในปอด
การรักษาจําแนกตามความรุนแรง
ของการขาดออกซิเจน
Moderate asphysia (APGAR 3-4)
ให้ออกซิเจน 100% ผ่านทาง Mask
หรือท่อให้ออกซิเจน โดยใช้มือผู้ให้ทําเป็นกระเปาะ เปิดออกซิเจน 5 lpm ห่างจากจมูกทารก 1 นิ้ว
ช่วยหายใจด้วย
Mask และ Bag
เมื่อดีขึ้นจึงใส่ Feeding tube
เพื่อดูดลมจากกระเพาะอาหาร
ถ้าไม่ดีขึ้นหลังช่วยหายใจ 30 วินาที
ใส่ ET Tube และนวดหัวใจ
Severe asphysia (APGAR 1-2)
ช่วยหายใจทันทีทีคลอดเสร็จ
ใส่ ET Tube
ถ้าไม่ดีขึนจึงรักษาด้วยยา
ให้ออกซิเจน 100% ผ่าน Bag 30 วินาที ร่วมกับการนวดหัวใจ 30 วินาที
Mild asphysia
ทําทางเดินหายใจให้โล่ง
Suction ตั้งแต่ศีรษะของทารกคลอดออกมาทํา
กระตุ้นทารก
Tactile stimulation ใช้มือลูบหลัง หน้าอก
ดีดส้นเท้าทารก จะได้ผลดีในทารกทีม
Primary apnea
ให้ความอบอุ่น
เช็ดตัวไม่ให้เปียก ทํา Skin to skin contact กับมารดา
ลําดับอาการที่ดีขึ้นของทารก
อัตราการเต้นของหัวใจ
การตอบสนองเมือถูกกระตุ้น
ลักษณะสีผิว
อัตราการหายใจ
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนือ
อาการและอาการแสดง
2. ระยะคลอด
พบขี้เทาป็นน้ำคร่ำ
1. ระยะก่อนคลอด
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติและค่อยๆเคลื่อนไหวน้อยลง
ทารกดิ้นน้อยลง
3. ระยะหลังคลอด คะแนน APGAR < 7 ตัวเขียว ไม่หายใจเอง
ตัวนิ่มอ่อนปวกเปียก ปฏิกิริยาต่อสิ่งเร้าลดลง หัวใจเต้นช้า
ปอด
เลือดเลียงปอดน้อยลง เซลล์ปอดเสียหาย
หายใจหอบ ตัวเขียว
ระบบหัวใจและการไหลเวียน
อุณหภูมิร่างกายต่ำ ความดันโลหิตต่ำ
ระบบประะสาท ซึม ม่ายตาขยายกว้าง ไม่ตอลสนองต่อแสง
ไม่มี Doll's
eye movement
ดูดนมได้ไม่ดี ชัก
ปัสสาวะน้อยหรือถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด Hematuria
ระบบทางเดินอาหาร
ลําไส้จะบีบตัวแรงชั่วคราว ทําให้เกิดการถ่ายขึ้นเทาในครรภ์มารดา เสี่ยงต่อการสําลักขี้เทาเข้าปอด
มีภาวะ HypoGlycemia (FBG<30%) Hypocalcemia Hyperkalemia ทําให้ชักและเสียชีวิต
พยาธิสภาพ
PaO2 < 40 mmHg. และมีการคังของ CO2 มีระดับ PaCO2 > 80 mmHg.
เลือดต้องไปเลี้ยงอวัยวะที่สําคัญก่อน คือ สมอง หัวใจ ต่อมหมวกไต
อวัยวะอื่นไม่มีเลือดไปเลี้ยงน้อยลง
ทารกามีอาการหายใจแบบขาดอากาศ Gasping ประมาณ 1 นาที
ตามด้วยหายใจไม่สม่ำเสมอ หัวใจเต้นช้าลง
ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขทารกจะหยุดหายใจ เป็นการหยุดหายใจครั้งแรก
Primary apnea
ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขทารกจะพยายามหายใจอีกครั้ง หายใจไม่สมาเสมอ 4-5 นาที ทรุดลงและหยุดหายใจอย่างถาวร
Secondry apnea
ร่างกายเกิดการเผาผลาญพลังงานแบบไม่ใช่ออกซิเจน
1 more item...
การพยาบาล
เช็ดตัวทารกให้แห้งทันทีหลังทารกคลอด
บันทึกอัตรการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
ดูสิ่งคั่ดหลั่งให้มากที่สุดก่อนลําตัวทารกคลอด
สังเกตอาการขาดออกซิเจน
6.ดูแลให้รับการตรวจLabและยาตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำ
ดูแลทําความสะอาดร่างกาย
1.เตรียมบุคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอด
ในรายทีมารดามีภาวะเสี่ยงหรือมีอาการน่าสงสัยว่าจะเกิด asphysia
9.ดูแลให้พักผ่อน
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก