Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
BIRTH ASPHYXIA และการกู้ชีพ, นางสาววิธิดา ประมวล เลขที่ 71 ชั้นปี 3 -…
BIRTH ASPHYXIA และการกู้ชีพ
ภาวะขาดออกซิเจนในทารก
( PERINATAL ASPHYXIA)
หมายถึง
ภาวะที่สมองและส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายขาดออกซิเจน เกิดจากปริมาณออกซิเจนในเลือดลดลง (hypoxemia) เกิดขึ้นในทารกแรกเกิดที่ไม่ร้องหรือ มีคะแนน Apgar ตํ่า รวมถึงทารกที่มีภาวะ asphyxia ด้วย
•ทารกที่มี fetal distress
•ภาวะ late deceleration
•นํ้าครํ่ามีขี้เทา
การวินิจฉัยภาวะ PERINATAL ASPHYXIA
▪Fetal monitoring
▪การประเมินลักษณะของนํ้าครํ่าจากการเจาะถุง นํ้าครํ่า
▪Apgar score น้อยกว่า 6
▪ตรวจเลือดจากสายสะดือพบ การมีภาวะ hypoxemia, hypercarbiaและ acidosis
พยาธิสรีรวิทยาเมื่อทารกมีภาวะ ASPHYXIA
▪ขาดออกซิเจน
▪การหายใจเร็ว
•การหายใจจะหยุดเรียกว่า primary apnea ส่งผล กระตุ้นการหายใจ
▪การเต้นของหัวใจจะลดลง
▪การหายใจเป็นเฮือก ๆ ไม่สมํ่าเสมอประมาณ 4-5 นาที
▪หายใจเบาลงและหายใจครั้งสุดท้าย (last gasp)
▪หยุดหายใจ+หัวใจเต้นช้าลง+ความดันโลหิตตํ่าลงระยะนี้ เรียกว่า secondary apnea ส่งผล PPV
การวินิจฉัยภาวะ ASPHYXIA
▪Fetal heart rate (FHR) ที่สูงกว่าปกติหรือตํ่ากว่าปกติ▪PH umbilical artery (UA pH) ในทารกแรกเกิดที่ < 7.102 เป็นสิ่งที่บอกว่าทารกอาจมีภาวะ asphyxia ▪Apgar scores ▪ภาวะที่มีขี้เทา (meconium) ในนํ้าครํ่า
อาการทางคลินิก
▪การหายใจไม่สมํ่าเสมอ /ไม่มีแรงในการหายใจ (หยุดหายใจ)/หายใจเร็ว
▪อัตราการหายใจช้า (bradicardia)/เร็ว (tachycardia)
▪ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
▪ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนตํ่า
▪ความดันเลือดตํ่า
การกู้ชีพ ทารกแรกเกิดของ NRP
แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน
▪การประเมินเบื้องต้น (initial assessment)
▪ทางเดินหายใจ (Airway, A)
▪การหายใจ (Breathing, B)
▪การไหลเวียนเลือด (Circulation, C)
▪การให้ยา (Drug, D)
VIGOROUS= ตื่นตัวดี ประเมินได้จาก 3 ลักษณะดังต่อไปนี้
คลอดครบกําหนดหรือไม่
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อดีหรือไม่
หายใจหรือร้องดีหรือไม่
▪60 วินาที ทารกควรได้รับการดูแลเบื้องต้น ประเมินซํ้า และเริ่มช่วยหายใจ การหายใจ
(ไม่หายใจ - apnea, หายใจหอบ - gasping, หายใจแรงหรือหายใจ ตามปกติ - labored or unlabored breathing)
▪การเต้นของหัวใจ
ฟังเสียงหัวใจเต้นที่หน้าอก (precordealpulse) จับชีพจรจากสายสะดือ
▪เมื่อมีการทํา POSITIVE-PRESSURE VENTILATION หรือมีการให้ออกซิเจน
อัตราการเต้นของหัวใจ
▪การหายใจ
▪state of oxygenation
ขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของการช่วยหายใจ 6 ขั้นตอน : MR.SOPA
ขั้นตอนการดูแลเบื้องต้นในการกู้ชีพ
▪การให้ความอบอุ่น
▪จัดศีรษะให้อยู่ในท่า “sniffing”
▪ทําทางเดินหายใจให้โล่งด้วย bulb syringe หรือ suction catheter ถ้าจําเป็น
▪เช็ดตัวให้แห้ง
1 more item...
การควบคุมอุณหภูมิ
▪Preterm(น้อยกว่า 1,500 กรัม) มักพบภาวะอุณหภูมิตํ่า
▪ปรับอุณหภูมิห้องคลอดให้อยู่ที่ 26 C ห่อทารกด้วยแผ่นพลาสติก วางทารกบนเบาะให้ความร้อน ติดตามอุณหภูมิทารกอย่างใกล้ชิด
การประเมินความต้องการและการให้ออกซิเจน
▪ระดับออกซิเจนในกระแสเลือดที่ตํ่ากว่าปกติ ในช่วง 10นาทีแรกคลอด ไม่ได้มีผลเสียต่อทารก
▪โดยทั่วไปค่า oxyhemoglobinsaturation จะอยู่ที่ 70-80% ในระยะเวลาหนึ่งหลังคลอด
▪ส่งผลให้ทารกมีภาวะ cyanosis ได้เป็นปกติ
▪การให้ออกซิเจนไม่ว่าจะมากหรือน้อยจนเกินไป ล้วนแต่เป็นอันตรายต่อทารก
PULSE OXIMETRY
▪แนะนําให้วัดระดับออกซิเจนทุกครั้ง ที่คาดว่าจะต้องทําการกู้ชีพ ให้ positive-pressure ventilation มี cyanosis เป็นเวลานาน หรือเมื่อมีการให้ออกซิเจน ตําแหน่งที่เหมาะสมในการติด probe แนะนําเป็นบริเวณข้อมือ หรือฝ่ามือ ด้านในข้างขวา (wrist or medial surface of palm)
การให้ออกซิเจน
▪ควรเริ่มโดยใช้ความเข้มข้นที่ room air ก่อน
▪หากทารกมีภาวะหัวใจเต้นช้า (น้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที) ▪ภายหลังการกู้ชีพด้วยออกซิเจนที่ระดับตํ่านานมากกว่า 90 วินาที
▪จึงค่อยปรับความเข้มข้นเป็น 100%
▪จนกว่าอัตราการเต้นของหัวใจจะกลับเป็นปกติ
POSITIVE-PRESSURE VENTILATION (PPV)
▪ทารกยังคงไม่หายใจ
▪หายใจเหนื่อย
▪HRน้อยกว่า 100 ครั้งต่อนาที
▪PPV
END-EXPIRATORY PRESSURE
▪แนะนําให้ใช้ continuous positive airway pressure (CPAP) กับทารกที่สามารถหายใจได้เอง แต่ยังมีการหายใจติดขัดภายหลังการคลอด positive end-expiratory pressure (PEEP) มักถูกใช้บ่อยในการใช้เครื่องช่วยหายใจใน NICU
อุปกรณ์ช่วยหายใจ
▪Laryngeal Mask Airway
การกดหน้าอกเพื่อนวดหัวใจ (CHEST COMPRESSION)
▪อัตราการเต้นของหัวใจที่น้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที ภายหลังได้รับการช่วยหายใจด้วยออกซิเจนที่เหมาะสม นาน 30 วินาที
▪ตําแหน่งที่กด
กดบนกระดูกสันอกที่ 1 ส่วน 3 ทางล่างสุดของกระดูกสันอก
▪แรงกด
กระดูกสันอกยุบลง 1-1.5 ซม.
▪อัตราการกด
สมํ่าเสมอ 90 ครั้ง/นาที การนวดหัวใจ: การหายใจ = 3 : 1
▪อัตราของการกดต่อการช่วยหายใจเท่ากับ 3:1
▪กดหน้าอกได้ 90 ครั้ง และช่วยหายใจได้ 30 ครั้ง รวมเป็น 120 ครั้ง ใน 1 นาที
▪ใช้เวลาห่างของแต่ละครั้งประมาณครึ่งวินาที ผู้กดต้องพูด “หนึ่ง-และสอง-และสาม-และ บีบ-และหนึ่ง-และสอง-และสาม-และ บีบ........” โดยช่วงที่นับให้กดหน้าอกไปพร้อมกัน เมื่อพูด “บีบ” ให้บีบ bag ช่วยหายใจ 1 ครั้ง ทําต่อเนื่องกันไป
▪ควรประเมินการหายใจ
▪อัตราการเต้นของหัวใจ
▪ระดับออกซิเจน
▪ทําการกดหน้าอกเพื่อนวดหัวใจควบคู่ไปกับการช่วย หายใจต่อเนื่องไป
▪จนกว่าอัตราการเต้นของหัวใจจะมากกว่า 60 ครั้งต่อ นาที
▪ควรหลีกเลี่ยงเหตุใดๆที่อาจขัดขวางการกด หน้าอกเพื่อนวดหัวใจ
ประสิทธิภาพของการนวดหัวใจ
▪การคลํา Carotid หรือ femoral pulse
▪ภาวะไหลเวียนของเลือดบริเวณส่วนปลาย (peripheral circulation)
▪ขนาดของรูม่านตา ซึ่งควรมีขนาดปานกลางหรือ หดเล็ก
▪ถ้าอัตราการเต้นของหัวใจไม่เพิ่ม หรือเลวลงเรื่อย ๆ แสดงว่าทารกมีภาวะ metabolic acidosis ใน ระดับรุนแรง
▪ควรแก้ไขภาวะกรดด่าง และอาจกระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจ ด้วย epinephrine
▪การให้ NaCHO3ก่อนการให้ epinephrine นอกจากจะแก้ไขภาวะ metabolic acidosis แล้ว ยังช่วยให้กล้ามเนื้อหัวใจตอบสนองต่อ epinephrine ดีขึ้นด้วยการใช้ย
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา
1.HR <60 ครั้ง/นาที หลังให้ O2100% และช่วยนวดหัวใจนาน 30 วินาที
2.ไม่มีการเต้นของหัวใจ
อัตราและขนาดการให้ EPINEPHRINE และ NAHCO3
▪Epinephrine
ขนาดที่แนะนําทางหลอดเลือดดําคือ 0.01-0.03 มก./กก. ต่อการให้หนึ่งครั้ง
▪การให้ในขนาดที่สูงกว่าที่แนะนําอาจทําให้เกิดความดันโลหิตสูง
▪ลดการทํางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
▪อาจส่งผลเสียต่อการทํางานของระบบประสาท หากต้องการให้
▪Epinephrine
ทางท่อช่วยหายใจ
อาจต้องมีการปรับ ขนาดยาให้สูงขึ้น เป็น 0.05-0.1 มก./กก. แต่ยังไม่มีการรับรอง ในแง่ของผลลัพธ์ หรือความปลอดภัยในการให้ทางช่องทางนี้ ในการให้ยาทั้ง 2 ช่องทาง แนะนําให้ใช้ epinephrine ที่ความเข้มข้น 1:10,000 (0.1 มก./มล.)
▪4.2% NaHCO3
(0.5 mEq/ml)
▪ขนาดที่ใช้ คือ 2mEq/kg.
▪โดยนําไปเจือจางเท่าตัวด้วย sterile water แล้ว ให้ช้า ๆ ทาง umbilical venous catheter
▪(ไม่ควรให้ทาง ET-tube)
การดูแลภายหลัง RESUSCITATION
▪ติดตามและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
▪Narcan(Naloxone) (0.4 มก./มล.) ขนาดที่ใช้ 0.1 มก./กก.(0.25 ml./kg.) ทางหลอดเลือด ดํา/ET-tube/กล้ามเนื้อ/subcutaneous
▪Glucose ขนาดที่ใช้ 2 มล./กก./ครั้ง เข้าทาง umbilical catheter ใช้ในกรณีที่ช่วยหายใจด้วย แรงดันบวกและให้ NaHCO3แล้วยังมี bradycardiaแสดงว่าทารกมีภาวะ hypoglycemia
แนวทางในการไม่ดําเนินการหรือการยุติการกู้ชีพ
▪แนวทางในการดูแลทารกที่อยู่ในภาวะกํ้ากึ่ง ระหว่างความเป็นและความตาย
▪หรือในภาวะที่มีแนวโน้มในการเกิดความพิการ หรือเสียชีวิตสูง มีความแตกต่างกันไป
▪ขึ้นอยู่กับข้อจํากัดด้านทรัพยากรในแต่ละพื้นที่
กรณีที่ไม่ดําเนินการกู้ชีพ
▪ไม่ควรดําเนินการกู้ชีพในทารกที่มีอายุครรภ์, นํ้าหนักแรกคลอด, ความพิการที่รุนแรงหรือมี แนวโน้มที่จะเสียชีวิตสูง
▪ควรดําเนินการกู้ชีพ ในกรณีที่ทารกมีแนวโน้มสูง ที่จะรอดชีวิต หรือมีความพิการที่ไม่รุนแรง
▪ในภาวะที่พยากรณ์โรค และโอกาสรอดชีวิตที่ไม่ แน่นอน หรือกํ้ากึ่ง ความเห็นจากผู้ปกครองจะ เป็นส่วนสําคัญในการช่วยตัดสินใจ และวางแผน การดูแลรักษา
การยุติการกู้ชีพ
▪สามารถยุติการกู้ชีพได้
▪ในกรณีที่ทารกไม่มีการเต้นของหัวใจตั้งแต่แรกคลอด •ยังคงไม่เต้นต่อเนื่องนาน 10 นาที
▪หากต้องการดําเนินการกู้ชีพต่อ ควรพิจารณาเฉพาะใน กรณีที่ทราบสาเหตุ
•การหยุดเต้นของหัวใจ
•อายุครรภ์
•ภาวะแทรกซ้อนที่ชัดเจน
•ผู้ปกครองสามารถยอมรับความเสี่ยงของความพิการที่ อาจเกิดตามมาภายหลังได้
นางสาววิธิดา ประมวล เลขที่ 71 ชั้นปี 3