Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้โภชนศึกษา - Coggle Diagram
การให้โภชนศึกษา
องค์ประกอบที่มีผลต่อความเชื่อและบริโภคนิสัย
ลักษณะภูมิอากาศ
การย้ายถิ่น
ลักษณะทางภูมิประเทศ
ความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี
วิธีการรับประทานอาหารมีเหมือน ๆ กันในทุกท้องถิ่น
ความเปลี่ยนแปลงของครอบครัวและสังคม
วิธีการปรุงและประกอบอาหาร
การเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ
วัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงอาหาร
แหล่งที่ให้การสนับสนุนด้านโภชนาการ
สมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย (Thai Dietetic Association)
สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย
สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย (ส.ภ.ท.)
สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร (institute of Food Research and Product Development)
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)
อาหารส่งเสริมสุขภาพ
อาหารบำรุงสมอง
อาหารเพื่อผิวสวย
อาหารต้านมะเร็ง
อาหารป้องกันโรคติดต่อ
อาหารป้องกันโรคไม่ติดต่อ
2:1:1 รหัสเด็ด ลดพุง
วัฒธรรมและภูมิปัญญาพื้นบ้าน ด้านอาหารของไทยที่เกี่ยวกับสุขภาพ
ภูมิปัญญาด้านอาหารของภาคเหนือ
แกง (อ่านว่า แก๋ง) เป็นอาหารประเภทน้ำ ที่มีปริมาณน้ำแกงอยู่ในระดับ ใกล้เคียงกับส่วนประกอบต่างๆ ในหม้อ เช่น แกงผักเชียงดา แกงอ่อมไก่
การจอ เป็นการปรุงอาหารประเภทผัก โดยการนำน้ำใส่ หม้อตั้งไฟปรุงด้วย เกลือ กะปิ ปลาร้าเมื่อน้ำเดือดจึงใส่ผักลงไป จากนั้นจึงเติมรสเปรี้ยวด้วยน้ำมะขามเปียกหรือมะขามสด เช่น จอผักกาด
การส้า เป็นวิธีการปรุงอาหารที่นำเอาเครื่องปรุงเช่น เนื้อปลา พริกสด หอมแดง กระเทียมมาย่างไฟให้สุกก่อนโขลกเครื่องปรุงทั้งหมดให้เข้ากัน เติม น้ำปลาร้าที่ต้มเตรียมไว้ นำมาคลุกเคล้ากับผักสดที่ล้างเตรียมไว้แล้ว เช่น ส้าผักแพระ ส้ายอดมะม่วง ส้าปลี
นึ่งหรือหนึ้ง เป็นการทำให้สุกด้วยไอน้ำร้อนในไห เช่นข้าวกั๊นจิ๊น หรือข้าวเงี้ยว หรือจิ๊นส้มเงี้ยว
น้ำพริก (อ่านว่า น้ำพิก) เป็นอาหารหรือเครื่องปรุงชนิดหนึ่ง มีส่วนประกอบหลัก คือ พริก เกลือ หอม กระเทียม เป็นต้น เช่น น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกอ่อง
ภูมิปัญญาด้านอาหารของภาคอีสาน
เครือหมาน้อย
สไปโรไจรา (เทาน้ำ)
อ่อมหอย
หอยจูบ (หอยขม)
ภูมิปัญญาด้านอาหารของภาคกลาง
ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ
เป็นอาหารที่มักมีการประดิษฐ์
เป็นอาหารที่มักจะมีเครื่องเคียง ของแนม
เป็นภาคที่มีอาหารว่าง และขนมหวานมากมาย
หลนเต้าเจี้ยว น้ำพริกลงเรือ ข้าวคลุกกะปิ
ภูมิปัญญาด้านอาหารของภาคใต้
อาหารพื้นบ้านภาคใต้มีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ
แกงไตปลา
ผัดสะตอใส่กะปิ
ข้าวยำ
หลักและวิธีการให้โภชนาศึกษา
กลวิธีการสอนโภชนาการ
การบรรยาย
การสาธิต (Demonstration)
การแสดงบทบาท (Role play)
การเล่นเกมส์ (Games)
การอภิปราย
การอภิปรายกลุ่ม ถาม-ตอบ (Opposing panel)
การอภิปรายกลุ่มย่อย (Buzz Session)
การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Large group discussion)
การอภิปรายทางวชิาการ (Forum)
การอภิปรายบนเวที (Panel)
การอภิปรายแบบวงกลม (Circular Response)
อุปกรณ์การสอนโภชนาการ
ภาพโฆษณา (Posters)
ป้ายนิเทศ (Bulletin Board)
แผนภูมิ แผนผัง และแผนสถิติ (charts, Diagram, Graphs)
หุ่นจำลอง (Models)
กระดานผ้าสำลี ใช้ตัดภาพหรือบัตรคำ
การแสดงนิทรรศการ (Exhibition หรือ Display)
ตัวอย่างของจริง
อุปกรณ์การเตรียมอาหาร
อุปกรณ์การเลี้ยงสัตว์ทดลอง
เครื่องฉายต่างๆ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องฉายสไลด ์
วิทยุ เครื่องบันทึกเสียง
หนังสืออ้างอิง วารสาร หนังสือพิมพ์