Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มบำบัดหัตถการ - Coggle Diagram
กลุ่มบำบัดหัตถการ
การดูแลดามกระดูก
ประเภทของกระดูกหัก
แบ่งตามลักษณะของแผล
-
Open fracture กระดูกที่ทิ่มผิวหนังออกมา
หรือได้รับบาดเจ็บจนผิวหนังเปิด ซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้สูง
แบ่งตามลักษณะการหัก
-
-
-
Greenstick fracture กระดูกที่แตกเพียงด้านเดียว ส่วนกระดูกอีกด้านโก่งไปตามแรงกดที่ปะทะเข้ามา ภาวะนี มักเกิดขึนกับเด็ก เนื่องจากกระดูกของเด็กมีความยืดหยุ่นมากกว่ากระดูกของผู้ใหญ่
-
Transverse fracture กระดูกที่แตกออกตามแนวขวางซึ่งเป็นส่วนที่สั น
ของกระดูก ไม่ได้เกิดรอยแตกไปตามแนวยาวของกระดูก
-
-
Impacted fracuture ภาวะที่กระดูกทั้ง 2 ด้านได้รับแรงกด ส่งผลให้
กระดูกแตกทั้ง 2 ด้าน เด็กเล็กมักเกิดกระดูกหักฝังที่แขน
-
Pathologic fracture ภาวะกระดูกหักที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติ
ของกระดูกหรือการป่วยเป็นโรคที่ท้าให้มวลกระดูกเสื่อมลง
-
-
-
-
การดามกระดูก
กระดูกปลายแขนหัก
ใช้ไม้แผ่นแบนๆหรือหนังสือพิมพ์หนาๆให้มีความยาวตั้งแต่ปลายนิ้วถึงข้อศอกใช้เป็นเฝือกแล้วพันด้วยเชือกหรือผ้ายืด ให้กระชับใช้ผ้าคล้องคอห้อยแขนข้างที่หักไว้
กระดูกแขนและไหปลาร้าหัก
ใช้ผ้าคล้องแขนแล้วผูกกับคอ ใช้ผ้าอีกผืนพันรัดแขนข้างที่หักให้ติดกับลำตัว กระดูกแขนหักบริเวณข้อศอกอาจจะหักตอนปลายของกระดูกต้นแขนหรือส่วนบนของกระดูกปลายแขนอย่าพยายามงอแขน เพื่อคล้องแขนให้ดามแขนในลักษณะตรง
กระดูกขาท่อนล่างหัก
ควรดามโดยใช้เฝือก 2 อันยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงเหนือเข่าและใช้ผ้าผูกติดกันเป็นเปราะๆ ใช้ผ้าหนาๆสอดระหว่างขอทั้ง 2 ข้าง แล้วผูกติดกันเป็นเปราะๆ ข้อควรระวังควรให้ปลายเท้าตั้งฉากเสมอและคอยตรวจดูว่าผ้าที่มัดไว้แน่นเกินไปจนเลือดไหลไม่สะดวกหรือไม่ และพยายามอย่าเคลื่อนไหวส่วนที่รัด
กระดูกต้นขาหัก
ใช้เฝือก 2 ชิ้น โดยชิ้นหนึ่งยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงใต้รักแร้ อีกชื้นยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงโคนขาแล้วใช้ผ้าผูกเฝือกทั้งสองข้างให้ติดกับขาข้างที่หัก ถ้าไม่มีเฝือกให้ผูกขาทั้งสองข้างติดกันถ้ามีบาดแผลหรือกระดูกโผล่อย่าพยายามล้างทำความสะอาด ถ้ามีเลือดออกให้ใช้ผ้าปิดแผลห้ามเลือดก่อน
กระดูกเชิงกรานหัก
ใช้วิธีผูกขาทั้งสองข้างติดกันโดยสอดผ้าสามเหลี่ยมพับกว้างๆ 2 ข้างไว้ใต้สะโพกและเชิงกรานผูกปมตรงกลางลำตัววางผ้านุ่มระหว่างขาทั้ง 2 ข้างบริเวณเข่าและข้อเท้าแล้วผูกติดกันด้วยผ้าสามเหลี่ยมพับผูกเป็นเลข 8 แล้วผูกผ้ารอเข่าทั้ง2ข้าง
กระดูกสันหลังหัก
จะมีอันตรายร้ายแรงกว่ากระดูกสันหลังส่วนล่างหัก ดังนั้นการเคลื่อนย้ายต้องทำด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษเพราะส่วนที่หักอาจจะไปกดหรือบาดไขสันหลังให้ขาดได้ ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตหรือไม่ก็เป็นอัมพาต ไม่แนะนำให้ทำการเคลื่อนย้ายผู้ปวยด้วยตนเองควรแจ้งขอความช่วยเหลือจากหน่วยแพทย์
-
-