Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.4 ความผิดปกติของการหายใจ, นางสาวศุภาพิชญ์ อรัญศรี รหัสนักศึกษา…
5.4 ความผิดปกติของการหายใจ
วัณโรคปอด
การพยาบาล
ระยะคลอด
-ดูแลให้อยู่ในห้องแยก ให้ผู้คลอดพักผ่อนให้เพียงพอ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และความก้าวหน้าของการคลอด
ระยะหลังคลอด
ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ Tuberculin skin testเมื่อแรกเกิด พร้อมกับให้ยา INH และ rifampicin ทันทีหลังคลอด
ทารกได้ร้บการฉีด BCG เพื่อป้องกันวัณโรคชนิดแพร่กระจายหลังคลอด
แยกทารกออกจากมารดาจนการเพาะเชื้อจากเสมหะของมารดาได้ผลลบ
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เน้นปลา นม ไข่ เพิ่มอาหารที่มีธาตุเหล็ก
จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
แนะนำรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย ์ใช้ยาสูตร 2HRZE/4HR
สวมผ้าปิดปากป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไม่ไอจาม รดผู้อื่น
ฝากครรภต์ามนัดเพื่อประเมินการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
การวินิจฉัย
Tuberculin skin test ซึ่งวิธีนี้ไม่แนะนำให้ใช้ ตรวจในหญิงตั้งครรภ์และหญิงที่ให้นมบุตร
X-ray ปอด
ซักประวัตัอาการและอาการแสดง
การส่งตรวจเสมหะ
-Acid fast bacilli staining
-Culture for mycobacterium tuberculosis
-Polymerase chain reaction(PCR)
อาการและอาการแสดง
อาการไอมักจะเรื้อรังนากว่า 3สัปดาห์
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร นา้นักตัวค่อยๆลดลง
มีอาการไอ ซึ่งในระยะแรกจะไอแห้งๆต่อมาจึงมี เสมหะลักษณะเป็นมูกปนหนองจะไอมากขึ้นเวลา เข้านอนหรือตื่นนอนตอนเช้า
มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน
โรคติดเชื้อโคโรน่า (Covid-19)
หญิงหลังคลอด กลุ่มเสี่ยง
กรณีเจ็บครรภ์คลอดต้องไปโรงพยาบาลทันทีและ แจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบ
พิจารณาเลื่อนการฝากครรภ์ หากอยู่ในกำหนดกักตัว
งดออกชุมชน
แยกกักตัวสังเกตอาการ 14วัน
การรักษาด้วยยา Favipiravir (200 mg/tab) วนัที่ 1: 8 เมด็ วนัละ 2 คร้ัง วันที่ 2-10: 3 เม็ด วนัละ 2 คร้ัง มีโอกาสเกดิ teratogenic effect ควรระวังการใช้ในหญิงมีครรภ์
กรณีมารดาเป็นผู้ที่สงสัยติดเชื้อ หรือติดเชื้อ COVID 19
แยกตัวออกจากทารกอื่น และต้องสังเกตอาการเป็นเวลา 14วัน
อธิบายถึงความเสี่ยง การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาให้มารดาเข้าใจ และเป็นผู้ตัดสินใจเอง
ยังไม่มีหลกัฐานการติดต่อผ่านทางรกหรือผ่านทางน้ำนม
ยงัไม่มีหลักฐานทางวิชาการในการแพร่เชื้อไวรัส ผ่านทางน้ำนม
หญิงหลังคลอด กลุ่มปกติ
เลี่ยงการใชม้ือสัมผสับริเวณดวงตา ปาก และจมูก
รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่
รักษาระยะห่าง
ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำสะอาดนาน 20วินาที
หลีกเลี่ยงการสัมผัส
ไอจาม ปิดปาก
งดใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
ถา้มีอาการไขไ้อเจบ็คอ หายใจเหนื่อยรีบไปพบแพทย์
ฝากครรภ์ตามนัด
ข้อปฏิบัติในการบีบน้ำนมและการป้อนนม
สวมหน้ากากอนามัย ตลอดการทำกิจกรรม
งดการสัมผสับริเวณใบหน้าของตนเองและทารก
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เข้มข้น 70%ขึน้ไป
ป้อนนมทารกด้วยการใช้ช้อน หรือถ้วยเลก็
อาบนา้หรือเช็ดทำความสะอาดบริเวณเต้านม
ล้างทำความสะอาดอุปกรณ์การให้นมหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม
หอบหืดในหญิงตั้งครรภ์
การพยาบาล
ระยะคลอด
ดุแลใหอ้อกซิเจนเมื่อหอบ
รับยาตามแผนการรักษา
จัดท่านอนศีรษะสูง
ประเมินลกัษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ
ระยะหลังคลอด
-เน้นการป้องกันการตก เลือดหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วย นมมารดา
ได้ร้บยารักษาโรคหอบหืด อย่างต่อเนื่อง
ระยะต้ังครรภ์
หลีกเลี่ยงอากาศเย็นหรือ ร้อน
รับประทานยาตาม แผนการรักษา
ฝากครรภต์ามนัด
นับและบันทึกลูกดิ้น รับประทานอาหารเน้น โปรตีน
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
ช่วงหลัง
จะมีปริมาตรอากาศเหลือคา้ง ในปอดทำให้เนื้อปอดบางส่วน แลกเปลี่ยนก๊าชได้ไม่สมบูรณ์
ช่วงแรก
หัวใจทำงานหนักขึ้นเนื่องจาก ปริมาณน้ำหนักตัวและน้ำใน ร่างกายเพิ่มขึ้นจะพบหายใจลำบาก
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ด้านมารดา
ตกเลือด
asthmatic attack
ความดันโลหิตสูงขณะ ต้ังครรภ์
ด้านทารก
คลอดก่อนหนด
นา้หนักตัวน้อย
ตายปริกำเนิด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
อาการและ อาการแสดง
หายใจลeบากหรือแน่นหน้าอก หายใจมีเสียง wheezing
เหงื่อออกมาก หายใจเร็วมากกว่า 35 ครั้ง/นาที ชีพจรเร็วมากกว่า 120 ครั้ง/นาที
มีอาการไอเรื้อรัง (มากกว่า 8สัปดาห์)
นางสาวศุภาพิชญ์ อรัญศรี รหัสนักศึกษา 602701098 เลขที่ 97