การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดา และทารกที่มีปัญหาสุขภาพร่วมกับการตั้งครรภ์ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด

5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน

โรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
(Gestational diabetes mellitus, GDM)

ชนิด

Overt Diabetes mellitus
เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์
ก่อนอายุครรภ์ 24 wks

Gestational diabetes mellitus
ความผิดปกติของความคงทนต่อน้ำตาลกลูโคสตรวจพบครั้งแรกระหว่างตั้งครรภ์

ผลกระทบของโรคเบาหวาน

ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวาน

ความต้องการอินซูลินไม่แน่นอน

การควบคุมระดับน้้ำตาลในเลือดยาก

Diabetic ketoacidosis

ผลต่อมารดา

Diabetic retinopathy

Diabetic nephropathy

Pregnancy induced hypertension

Infection Dystocia

Preterm birth Postpartum hemorrhage

Polyhydramnios

ผลต่อทารก

Abortion

Malformation

Fetal death or Stillbirth

Macrosomia IUGR

Type I diabetes or Insulin dependent
diabetes mellitus

Type II diabetes or Noninsulin
dependent diabetes mellitus

GDM A-1
fasting plasma glucose < 150 mg/dl
2-hour post prandial glucose < 120 mg/dl

GDM A-2
fasting plasma glucose > 150 mg/dl
2-hour post prandial glucose > 120 mg/dl

การดูแลรักษา

ก่อนการตั้งครรภ์

การให้คำปรึกษา การควบคุมระดับกลูโคส

สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม

การเสริมวิตามิน Folic ออกกำลังกาย

การประเมินพยาธิสภาพ

ระยะตั้งครรภ์

ควบคุมน้ำตาล

ควบคุมอาหาร

สังเกตเด็กดิ้น ภาวะแทรกซ้อน

ระยะคลอด

การกำหนดเวลาคลอด

การใช้ Insulin ให้ IV fluid

ติดตามสุขภาพทารกในครรภ์

คลอดตามข้อบ่งชี้

ระยะหลังคลอด

ควบคุมระดับน้ำตาล

ภาวะแทรกซ้อน

การดูแลทั่วไป การคุมกำเนิด

Breast feeding

การดูแลทารก

ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมาก
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
คอพอกเป็นพิษในหญิงตั้งครรภ์

สาเหตุ

Graves

Plummer’s disease

Toxic adenoma

อาการและอาการแสดง

ต่อมไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น ลักษณะเป็นคอพอก

อัตราการเต้นของหัวใจเร็วโดยไม่ทราบสาเหตุ

อัตราการเต้นของชีพจรเร็ว

น้ำหนักไม่เพิ่มขึ้นทั้ง ๆ ที่รับประทานอาหารเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น

มีอาการหิวบ่อยหรือกินจุ

ตาโปน (exophthalmos) อาการสั่น มือสั่น (tremor)

การวินิจฉัยโรค

เคยเป็นโรคไทรอยด์เป็นพิษอยู่ก่อนการตั้งครรภ์

พบอาการและอาการแสดง

เจาะเลือดตรวจ Thyroid function โดยตรวจหาค่า TSH (Thyroid stimulating
hormone) จะต่ำ T3 uptake สูง T4 สูง

ผลกระทบ

ต่อมารดา

แท้งและคลอดก่อนกำหนด

ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์

รกลอกตัวก่อนกำหนด

ต่อทารก

ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ มีความพิการแต่กำเนิด หรือตายคลอดได้สูง

ต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด

ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด

แนวทางการรักษา

การรักษาโดยยา

การผ่าตัด

Propylthiouracil (PTU) 100-150 mg/day

Methimazole

Adrenergic blocking agent (Inderal)

Radioiodine therapy

Thyroid storm

ไข้ 38.5 องศาเซลเซียส หลังจากการคลอดหรือการผ่าตัดคลอด 2-3 ชั่วโมง

หัวใจเต้นเร็ว ชีพจร 140 ครั้ง/นาที

คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย

สับสน ชัก จนหมดสติ

การรักษา ยาต้านไทรอยด์ฮอร์โมน และ iodine การรักษาแบบประคับประคอง

การพยาบาล

ระยะตั้งครรภ์

อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวทราบเกี่ยวกับโรคที่เป็น

แนะนำการปฏิบัติตัว

รับประทานอาหาร 4000-5000 แคลอรี

การพักผ่อน วันละ 10 ชั่วโมง

การรับประทานยา รักษาความสะอาด

นับการดิ้นของทารก

ระยะคลอด

ระยะที่ 1

ระยะที่ 2

จัดท่า Fowler’s position

อาการใจสั่น หายใจไม่สะดวก

ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง

ดูแลให้ยาระงับปวด

ประเมินสภาพของทารกในครรภ์

ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5 นาที

ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด

หลังคลอดฉีด Syntocinon

ห้ามใช้ยา methergin

ประเมินสัญญาณชีพทุก 10 นาที

หลังคลอด

ดูแลอย่างใกล้ชิด ในระยะ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด

ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด

ให้พักผ่อนช่วยเหลือกิจกรรม

ดูแลให้ได้รับยาลดการทำงานของต่อมไทรอยด์ เช่น PTU

ถ้าอาการไม่รุนแรงสามารถให้นมบุตรได้

ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย (Hypothyroidism)

สาเหตุ

มีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด

จากการรักษาผ่าตัด หรือจากสารรังสีรักษา

จากการขาดไอโอดีน

ผลกระทบ

ต่อมารดา

แท้ง

คลอดก่อนกำหนด

ทารกตายในครรภ์

ต่อทารก

ความดันโลหิตสูง

รกลอกตัวก่อนกำหนด

ตกเลือดหลังคลอด

ทารกมีความบกพร่องในการพัฒนาสมอง

Cretinism

การวินิจฉัย

ประวัติ

การรักษามาก่อน

การใช้ยาlithium

อาการ

นน.เพิ่ม

ทนเย็นไม่ได้

เบื่ออาหาร

ผมร่วง เล็บเปราะ เสียงแหบ

การตรวจ

DTRช้า

ระดับ T3,FT4 ต่ำ

ระดับ TSH จะสูง

การพยาบาล

การรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง

รับประทานอาหารที่มีโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และมีเส้นใย

การพักผ่อน

การติดตามฝากครรภ์ตามนัด

5.4 ความผิดปกติของการหายใจ

หอบหืดในหญิงตั้งครรภ์

อาการและอาการแสดง

เกิดในช่วง 24 -36 สัปดาห์

หายใจลำบากหรือแน่นหน้าอก

หายใจมีเสียง wheezing

หายใจเร็วมากกว่า 35 ครั้ง/นาที

ชีพจรเร็วมากกว่า 120 ครั้ง/นาที เหงื่อออกมาก

ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์

ด้านมารดา

ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์

ตกเลือด

asthmatic attack

ด้านทารก

คลอดก่อนหนด

น้ำหนักตัวน้อย

ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์

ตายปริกำเนิด

การพยาบาล

ระยะตั้งครรภ์

ฝากครรภ์ตามนัด

หลีกเลี่ยงอากาศเย็นหรือร้อน

รับประทานยาตามแผนการรักษา

นับและบันทึกลูกดิ้น

ระยะคลอด

รับประทานอาหารเน้นโปรตีน

จัดท่านอนศีรษะสูง

ดูแลให้ออกซิเจนเมื่อหอบ

รับยาตามแผนการรักษา

ประเมินลักษณะการ หายใจ ชีพจร สีเล็บ

ระยะหลังคลอด

ได้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างต่อเนื่อง

เน้นการป้องกันการตกเลือดหลังคลอด

ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา

วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์

อาการและอาการแสดง

มีอาการไอ ซึ่งในระยะแรกจะไอแห้งๆต่อมาจึงมีีเสมหะลักษณะเป็นมูกปนหนองจะไอมากขึ้นเวลาเข้านอนหรือตื่นนอนตอนเช้า

อาการไอมักจะเรื้อรังนากว่า 3 สัปดาห์

อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำนักตัวค่อยๆลดลง

มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน

การพยาบาล

ระยะตั้งครรภ์

แนะนำรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์ ใช้ยาสูตร 2HRZE/4HR

แนะนำรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง

งดเว้นสิ่งเสพติด

จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก

ฝากครรภ์ตามนัดเพื่อประเมินการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์

ระยะคลอด

ดูแลให้อยู่ในห้องแยก ให้ผู้คลอดพักผ่อนให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงร่างกายอ่อนเพลีย

ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และความก้าวหน้าของการคลอด

ระยะหลังคลอด

แยกทารกออกจากมารดาจนกระทั้งการเพาะเชื้อจากเสมหะของมารดาได้ผลลบ

ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ Tuberculin skin test

ทารกได้รับการฉีด BCG

ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์

ผลของโรคต่อมารดา เช่น แท้งเอง การคลอดก่อนกำหนด ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์

ผลของโรคต่อทารก เช่น การเสียชีวิตในครรภ์ การคลอดก่อนกำหนด ทารกน้ำหนักตัวน้อย ภาวะพร่อง
ออกซิเจนแต่กำเนิด ทารกติดเชื้อวัณโรคแต่กำเนิด

5.5 ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ

โรคติดเชื้อโคโรน่า (Covid-19)

การดูแลหญิงตั้งครรภ์
หญิงหลังคลอด กลุ่มปกติ

หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิด

รักษาระยะห่าง

หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก

รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม

งดใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น

ล้างมือบ่อย ๆ

มารดาทุกคนที่อยู่ในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบหรือมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ คสรรีบไปพบแพทย์

การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง

แยกกังตัวสังเกตอาการ 14วัน

งดออกชุมชน

พิจารณาเลื่อนการฝากครรภ์หากอยู่ในช่วงกักตัว

กรณีเจ็บครรภ์คลอดต้องไปโรงพยาบาลทันที และแจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบ

การดูแลทารกแรกเกิด

ยังไม่มีหลักฐานการติดต่อผ่านทางรกหรือผ่านทางน้ำนม

แยกตัวออกจากทารกอื่น และต้องสังเกตอาการเป็นเวลา 14วัน

อธิบายถึงความเสี่ยง ความจำเป็นและประโยชน์ของการแยกมารดา-ลูก

click to edit

โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ

การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะโดยไม่มีอาการ (Asymptomatic bacterial)

โรคติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะที่มีอาการแสดง (Symptomatic bacteriuria)

การรักษาพยาบาล

.ดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล

ดื่มน้ำมากๆ 2,000-3,000 cc./day

ลีกเลี่ยงน้ำ
ชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มี Alcohol เครื่องเทศ

สังเกตการณ์ดิ้นของเด็กทารก

ส่งตรวจ Urine culture

การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง

การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน

อาการแสดงจากการเปลี่ยนแปลงการทำงาน

อาการปัสสาวะบ่อย

creatinine ลดลงอยู่ที่ 0.5 mg/dl

BUN อยู่ที่ 8-10 mg/dl

ไตและท่อไตมีขนาดใหญ่

สาเหตุ

เชื้อแบคทีเรียที่บริเวณลำไส้หรือบริเวณผิวหนังรอบๆทวารหนักและช่องคลอด

เพศสัมพันธ์ทำให้เกิดการช้ำเล็กน้อยบริเวณท่อปัสสาวะ

ระดับฮอณืโมนโปรเจสเตอโรนที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ

การส่งตรวจ

Urinalysis

Urine culture

Pyelonephritis

อาการและอาการแสดง

ไข้สูงหนาวสั่น

ปัสสาวะขุ่น

มึนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียนแบคทีเรียมากกว่า 100,000

ปวดบั้นเอว

แนวทางการรักษา

ยาปฏิชีวนะ

คัดกรองสตรีที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก

ตรวจปัสสาวะซ้ำGA 32-34 Wks.

Urinalysis, Culture and sensitivity

I/O

Cystitis

ปัสสาวะแสบขัด (dysuria)

ปัสสาวะขุ่น (turbid urine)

Suprapubic pain

WBC, RED สูง

การรักษาเหมือนกับ Asymtomatic baeteriuria
Ampicillin 500 mg Amoxycillin 500 mg

Pyelonephritis

อาการและอาการแสดง

ไข้สูงหนาวสั่น

ปัสสาวะขุ่น

มึนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียนแบคทีเรียมากกว่า 100,000

ปวดบั้นเอว

แนวทางการรักษา

ตรวจปัสสาวะซ้ำGA 32-34 Wks.

ยาปฏิชีวนะ

คัดกรองสตรีที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก

Urinalysis, Culture and sensitivity

I/O

นางสาวสุพัตรา สมภักดี รหัส 602701110