Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในร…
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ
การตั้งครรภ์ปกติ
first trimester : เดือนที่ 1 ถึงเดือนที่ 3 (1-12 สัปดาห์)
second trimester : เดือนที่ 4 ถึงเดือนที่ 6 (13-28 สัปดาห์)
ระยะเวลาประมาณ 280 วัน หรือ 40 สัปดาห์
third trimester : เดือนที่ 7 ถึง ครบกําหนดคลอด หรือประมาณ 29-42 สัปดาห์
การประเมินภาวะสุขภาพ
การประเมินภาวะภาวะจิตสังคม
ไตรมาสสอง
มีการเตรียมรับบทบาทใหม่ของการเป็นมารดา จากการรู้สึกถึงการดิ้นของ ทารก ทําให้เริ่มรับรู้ว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคลคนหนึง
ไตรมาสแรก
มีความรูู้สึกสองฝักสองฝ่าย (ambivalence)
ไตรมาสสาม
จะรู้สึกวิตกกังวลและกลัวเกี่ยวกับการคลอดมากขึ้นอาจเกิดความเครียด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
❖ OF, DCIP อายุครรภ์ ไม่เกิน 16 wks
HIV หลังจากได้ให้คำาปรึกษาแล้ว เมื่อมา ฝากครรภ์ครั้งแรก และตรวจซ้ำ ขณะอายุครรภ์ 28 - 32 สัปดาห์
❖ กล่มุเลือด ABO และหมู่เลือด Rh
❖ HBsAg เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก
UA เพื่อตรวจหา Albumin, Sugar ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์
CBC, VDRL เมือมาฝากครรภ์ครั้งแรก และตรวจซ้ำอีกครั้งเมื่ออายุครรภ์ 28 - 32 สัปดาห์
การตรวจครรภ์
แนว ท่า และส่วนนําของทารก
การคงชีวิตอยู่ของทารกในครรภ์
จํานวนทารกในครรภ์
คาดคะเนอายุครรภ์
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทกุระบบ
การตรวจเต้านม
วัดความดันโลหิต
แขนขา
ชั่งน้ำหนัก
การตรวจภายใน
การวัดส่วนสูง ส่วนสูงควร > 150 เซนติเมตร
การซักประวัติ
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติการตั้งครรภ์ใน ปัจจุบัน
ประวัติการคุมกําเนิด
การซักประวัติหญิงตั้งครรภ์
ประวัติความเจ็บป่วย ในอดีต
ประวัติสว่นตัว
ประวัติการดิ้นของ ทารกในครรภ์
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันปัญหาสุขภาพ
ประเมินความต้องการ
ไตรมาสที่๒
การดูแลเต้านม
การแต่งกาย
การดูแลผิวหนัง
ไตรมาสที่๑
การทำงาน
. การเดินทาง
การออกกำลังกาย
การดูแลรักษาสุขภาพของปากและฟัน
การพักผ่อนและการนอนหลับ
การรับประทานอาหารและยา
การทรงตัวที่ถูกต้อง
การมเีพศสัมพนัธ์
การบริหารร่างกาย
อาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนนัด
การมาตรวจตามนัด
การฉีดวัคซีน
ไตรมาสที่๓
การเตรียมตัวเพื่อการคลอด
การเตรียมตัวให้นมบุตร
อาการเจ็บครรภ์คลอด
การเตรียมของใช้สําหรับมารดา/บุตร
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันปัญหาสุขภาพ
การดูแลมารดาที่มีภาวะไม่สุขสบาย
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
การปฏิบัติตัว
รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
รับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครัง
ให้ดื่มของอุ่น ๆ วันละ 6 – 8 แก้ว โดยใช้ วิธีการจิบบ่อย ๆ ทันทีที่ตื่นนอน
มีนํ้าลายมาก
แนะนําว่าเป็นอาการปกติและให้ลด อาหารจําพวกแป้งหรืออมลูกอมที่มีรสเปรี้ยว
เหงือกอักเสบ
การปฏิบัติตัว
ใช้แปรงที่มีขนอ่อนนุ่ม
เพิ่มอาหารโปรตีนผัก ผลไม้
ดูแลสุขภาพฟัน โดยปรึกษาทันตแพทย์
ร้อนในอก
การปฏิบัติตัว
รับประทานอาหารในปริมาณไม่มาก นักแต่เพิ่มจํานวนมื้อให้มากขึ้น
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส อาหารรสจัด
ใจสั่น เป็นลม
การปฏิบัติตัว
เปลี่ยนอิริยาบถช้า ๆ
เวลานอนให้นอนตะแคงโดยเฉพาะนอนตะแคงซ้ายหรือกึ่ง นั่งกึ่งนอน
ตรวจความเข้มข้นของเลือด ถ้าพบว่ามอีาการซีด ควรปรึกษาแพทย์
หายใจตื้นและลำบาก
การปฏิบัติตัว
นอนในท่าศีรษะสูง
ปรึกษาแพทย์เพื่อค้นหาสาเหตุ
ตะคริว
การปฏิบัติตัว
รับประทานนมให้มากขึ้นและอาหารที่มีคุณค่า
หลีกเลี่ยงการใช้กำลังขาที่มากเกินไป
นวดขา ดัดปลายเท้าให้งอขึ้น
ปรึกษาแพทย์ เพื่อได้รับยาที่มีแคลเซียม
ปวดหลัง ปวดถ่วงและปวดที่มีบริเวณข้อต่อต่าง ๆ
การปฏิบัติตัว
การนั่งพันเข่า ยืน เดิน และนั่งในท่าที่เหมาะสม
หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
การบริหารกล้ามเนื้อหลัง ทำท่า Pelvic tilting
ใส่รองเท้าส้นเตี้ย
ปัสสาวะบ่อย
การปฏิบัติตัว
ให้ดื่มน้ำมากในตอนกลางวันและดื่มน้อยลงในระยะก่อนนอน
อย่ากลั้นปัสสาวะบ่อย ๆ หรือกลั้นไว้นาน ๆ
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีฤิทธิ์ขับปัสสาวะ การดื่ม ชา กาแฟ
ในไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์ควรหลีกเลี่ยงการถ่าย
ปัสสาวะในท่านังยอง ๆ
บวม
การปฏิบัติตัว
หลีกเลี่ยงการยืนหรือเดินนาน ๆ
ขณะพักยกเท้าให้สูงขึ้นเล็กน้อย
ถ้าบวมเป็นเวลานาน หรือบวมที่หน้า นิ้ว มือ หน้าท้อง ควรปรึกษาแพทย์ เพื่อตรวจ