Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แม่เหล็กไฟฟ้า - Coggle Diagram
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กและสารแม่เหล็ก
-
สารแม่เหล็ก
สารแม่เหล็กแบ่งเป็น 3 ชนิด
1)สารเฟอโรแมกเนติก (Ferromagnetic Material)
2)สารพาราแมกเนติก (Paramagnetic material)
3)สารไดอะแมกเนติก (Diamagnetic Material)
-
-
-
-
การตั้งชื่อขั้วแม่เหล็ก
นำแท่งแม่เหล็กไปดูดคลิปเหล็กจะพบว่าปลายแท่งแม่เหล็กมีคลิปเหล็กหนาแน่นกว่าบริเวณอื่นๆ เรียกบริเวณนั้นว่า ขั้วแม่เหล็ก (magnetic pole)
ขั้วแม่เหล็กที่หันไปทางทิศเหนือ เรียกว่า ขั้วเหนือ (north pole) เขียนแทนด้วย “ N
ขั้วแม่เหล็กที่หันไปทางทิศใต้ เรียกว่า ขั้วใต้ (south pole) เขียนแทนด้วย “ S ””
อำนาจแม่เหล็ก
มี3ชนิด
1) ขั้วแม่เหล็กชนิดเดียวกัน ผลักกัน เช่น ขั้ว N เจอกับขั้วN หรือ ขั้ว Sเจอกับขั้วS ก็จะผลักกัน
2)ขั้วแม่เหล็กต่างชนิดกัน ดูดกัน เช่น ขั้ว N เจอกับขั้ว S ก็จะดูดกัน
-
-
-
-
โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
M = BINAcosΘ โดย Θ = t
M = ขนาดโมเมนต์ของแรงคู่ควบ (N.m)
N = จำนวนรอบของขดลวด
A = พื้นที่ของขดลวด (m2)
Θ = มุมระหว่างระนาบของขดลวดกับสนามแม่เหล็ก
แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
เมื่อเคลื่อนลวดตัวนำตัดสนามแม่เหล็กจะเกิดเกิดแรงกระทำต่อประจุไฟฟ้า โดยประจุบวก และประจุลบจะแยกกันทำให้เกิดความต่างศักย์ขึ้นที่ปลายลวดทั้งสองด้าน ถ้านำมาต่อครบจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหล
E = vLB
E แทน แรงเคลื่อนไฟฟ้า (v)
v แทน ความเร็วในการเคลื่อนเส้นลวด (m/s)
L แทน ความยาวของเส้นลวด (m)
B แทน สนามแม่เหล็ก (T)
-