Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะช็อก สัตว์กัดต่อย แผลไหม้ การแพ้อย่างรุนแรง - Coggle Diagram
ภาวะช็อก สัตว์กัดต่อย แผลไหม้
การแพ้อย่างรุนแรง
การแพ้อย่างรุนแรง
( Anaphylaxis )
อาการ
หายใจไม่อิ่ม
อ่อนเพลีย เปiนลม
ใจสั่น
การรู้สึกตัว
เปลี่ยนแปลง
ไอจาม คัดจมูก
ช็อก
ผื่นคันตามร่างกาย หน้าแดง ตัวแดง
หมดสติ
น้ำมูกไหล น้ำตาไหล
ภาวะที่เกิดขึ้นฉับพลัน และอันตรายต่อชีวิต เกิดจากปฏิกริยาภูมิคุ้มกันของร่างกายที่มีต่อสิ่งแปลกปลอม ซึ่งเคยเข้าไปกระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกายมาก่อนแล้ว
สาเหตุ
การแพ้อาหาร พืช สารเคมี สารโปรตีนต่างๆ
การออกกำลังกาย ความเย็น
พิษจากแมงสัตว์กัดต่อย
การแพ้ยาโดยเฉพาะยาปฏิชีวนะ
sulfonamide group
ยากลุ่ม NSAIDS
penicillin
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
ให้ออกซิเจน
ให้ adrenaline 1:1000 ขนาด 0.30 - 0.5 ml
IM, IV ในเด็กให8 0.01 ml / kg / dose ( ตาม
standing order )
ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุด
ทำงานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
ให้ IV โดยใช้ isotonic solution
ประเมินความรู้สึกตัว, ABCs
ให้ยาแก้แพ้
ถ้ามีอาการ bronchospasm หรือ laryngeal edema ให้ยาพ่นขยายหลอดลม ( ตาม standing order )
แผลไหม้ (Burn)
เม่นทะเลตำ (Sea urchins)
อาการ
Systemic reaction จะมีอาการแพ้โดยเฉพาะ
anaphylaxis
Local reaction เจ็บปวดเหมือนถูกหนามตำ
ต่อมาจะมีอาการชา ถ้าหนามของหอยเม่นหัก
คา จะปวดมาก
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
Local reaction (สามารถรักษาได้)
ให้ยาแก้แพ้
ทาด้วยแอมโมเนีย เพื/อช่วยลดอาการปวด
ให้ยาแก้ปวด
ทุบหนามที่หักคาให้แหลกใช้นํ้ำส้มสายชูหรือ
น้ำมะนาวทาที่แผลสลับการทุบ เพื่อลดอาการชา
Systemic reaction (ฉุกเฉิน)
ให้การรักษาเหมือน local reaction
ให้ IV ถ้า BP Drop หรือ Shock
ให้ออกซิเจน
Refer ไป รพ.ที่พร้อมรักษา
ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ผิวหนัง หรือเนื้อเยื้อ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากการถูกเผาไหม้ หรือการ
ได้รับความร้อนจากเปลวไฟ กระแสไฟฟ้า รังสี สารเคมี
พิษจากแมงกะพรุน (Jellyfish dermatitis)
อาการ
Local reaction บวมแดงเป็นแนวเส้น ตามรอยหนวดที่สัมผัส เจ็บ คัน บางทีมีตุ่มพองเกิดทันทีที่สัมผัสหรือหลังสัมผัส 1-4 สัปดาห์
Fatal reaction
anaphylaxis
cardio pulmo nary arrest
Systemic reaction เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน เหงื่อออก น้ำตาไหล ไข้ กล้ามเนื้อกระตุก ชา แน่นหน้าอก
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
Local reaction (ฉุกเฉิน)
ให้ยาแก้แพ้
ให้ IV
ให้ออกซิเจน
ดูแลระบบหายใจ โดยเฉพาะภาวะหลอดลมตีบ
Refer ไป รพ.ที่พร้อมรักษา
Fatal reaction (ฉุกเฉิน), Systemic reaction (สามารถรักษาได้)
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ใช้แป้งโรยบริเวณแผลเพื่อเอาหนวดออก
Local heat อุ่นน้ำทะเลที่่อุณหภูมิ 39 องศา เทราด
บริเวณแผล (ห้ามใช้น้ำจืด หรือแอลกอฮอล์)
ใช้ผักบุ้งทะเลโขลกแล้วทาบนแผล
ลดการเคลื่อนไหวบริเวณบาดแผล ห้ามถูแผล
เฝ้าระวังอาการ
anaphylaxis
systemic infection
การแบ่งความรุนแรงของผิวหนังไหม้
ขนาดของแผลใช้กฎเลขเก้า (rules of nine)
ความลึกของบาดแผล
Partial-thickness burns
ระดับที่ 2 ลึก
ผิวขาวซีด นิ่ม
3-4 สัปดาห์ แผลเป็นมาก
epidermis ชั้นบนและชั้นลึกของผิวหนัง แท้ยังมีบางส่วนเหลืออยู่
ระดับที่ 2 ตื้น
บาดแผลพองเป็นตุ่ม
นํ้ำใส ปวด
10-14 วัน แผลเป็น
ค่อนข้างดี
epidermis และชั้นบน
ของหนังแท้
ระดับที่ 1
ผิวหนังสีแดงเหมือน
โดนแดดเผา แห้ง
ไม่มีบาดแผล
epidermis
Full-thickness burns
ระดับที่ 3
ผิวหนังเป็นสีขาว หรือ
น้ำตาลพบเส้นเลือด
อุดตัน
แผลจะหายจากการ
หดรั้ง หรือ skin grafting
ผิวหนังทุกชั้นถูก
ทำลายทั้งหมด
ไฟฟ้าช็อต (Electrical injury)
ภาวะที่ผู้ป่วยได้รับอันตรายเนื่องจากกระแสไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน
ความรุนแรง
ตำแหน่งของร่างกายที่สัมผัส
สิ่งแวดล้อม เช่น ร่างกายสัมผัสโลหะ กำลังยืนอยู่ในน้ำ
ชนิด และกำลังของกระแสไฟฟ้า
อาการฉุกเฉิน
มีบาดแผลไหม้ โดยเฉพาะบริเวณ
ทางเข้าและทางออกของกระแสไฟฟ้า
กระดูกหัก หรือข้อเคลื่อน
กระดูกสันหลังหัก
ระบบการไหลเวียนโลหิตผิดปกติ
หัวใจเต้นผิดปกติ
ไม่รู้สึกตัว ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ไตวายเฉียบพลัน
การรักษา
ฉุกเฉิน
ให้ออกซิเจนถ้าหายใจไม่ดี
ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
ให้ IV ถ้า BP Drop หรือ Shock
ไม่รู้สึกตัว ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
Refer ไป รพ.ที่พร้อมรักษา
รักษาได้
ให้ยาลดอาการปวด
พูดคุยปลอบโยนเพื่อ
คลายความกลัวความวิตกกังวล
ดูแลบาดแผล
ติดตาม ประเมินผลการรักษา ติดตามอาการเกี่ยวกับ
หัวใจ ต้อกระจก และอาการทางระบบจิตประสาท
ภาวะช็อก( Shock )
ภาวะที่ร่างกาย หรือเนื้อเยื่อต่างๆได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอทำให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างความ
ต้องการและปริมาณออกซิเจนที่เลือดนำไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ
สาเหตุ
Septic shock
ได้รับสารพิษ
ถูกสัตว์แมลงกัด
ได้รับสารเคมี
ยาบางอย่าง
Hypovolumic shock
มีความผิดปกติของเมตาบอลิซึม
ไตวาย
ตับวาย
น้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำผิดปกติ
ความผิดปกติในการทำงานของหัวใจ ประสาท และต่อมไร้ท่อ
การรักษาเบื้อต้น/ส่งต่อ
ตรวจหาภาวะช็อกจากอาการและอาการแสดงของผู้ป่วย
ให้นอนราบยกขาสูงขึ้น 10-20 นิ้ว
ให้ออกซิเจนและให8ความมอบอุ่นแก่ร่างกาย
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ IV ควรให้สารน้ำที่มีความเข้มขึ้นใกล้เคียงกับเลือด (isotonic solution)
Lactated Ringer’s solution
NSS
ไม่ควรให้สารน้ำที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าเลือด
5% D/W
NPO
ใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้เพื่อดูปริมาณปัสสาวะ
แก้สาเหตุของการช็อก
Refer ไปรพ.ที่พร้อมรักษา
อาการ
ชิพจรเบา-เร็ว
ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น
กระหายน้ำ อ่อนเพลีย
กระสับกระส่าย
ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
Pulse pressure ≤ 20 mmHg
mean arterial pressure < 60 mmHg
BP < 90/60 mmHg
อาเจียน
ปัสสาวะออกน้อย หรือไม่ออกเลย
หายใจเร็วถี่ขึ้น
ช็อกรุนแรง ม่านตาไม่ตอบสนองต่อแสง
สัตว์กัดต่อย
คนกัด ( Human bite )
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
ฉุกเฉิน
ประเมินสัญญาณชีพ ซักถามประวัติเกี่ยวกับการได้รับบาดแผล
ระยะเวลาที่ถูกกัด
การรักษาที่ได้รับ
สุขภาพของผู้ที่กัด
ดูแลบาดแผล
ให้ยาป้องกันบาดทะยัก (ตามแนวทางมาตรฐาน)
Refer ไป รพ.ที่พร้อมรักษา
ให้การดูแลรักษาได้
ไม่ควรเย็บทันที ยกเว้นบาดแผลที่ใบหน้าที่ไม่เหวอะหวะ ช้ำ หรือสกปรกมาก อาจจะเย็บได้เพราะต้องการความสวยงาม ลดรอยแผลเป็น และใบหน้าเป็นตำแหน่งที่มีเลือดมาเลี้ยงมาก
จึงมีโอกาสติดเชื้อต่ำ
ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อ เช่น amoxicillin หรือ dicloxacillin
ให้การดูแลบาดแผล ล้างด้วย NSS จำนวนมาก ตัดแต่งเนื้อตาย เอาเศษสิ่งสกปรกออก
ให้ยาป้องกันบาดทะยัก (ตามแนวทางมาตรฐาน)
นัดตรวจติดตามการรักษา
กรณีแผลติดเชื้อรุนแรง เช่น cellulitis หรือมีไข้ให้
พิจารณาส่งต่อ
การบาดเจ็บที่เกิดจากการต่อสู้ การทำร้ายร่างกาย หรืออาจพบในระหว่างมีเพศสัมพันธ์ บาดแผลคนกัด ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
อาการ
ให้การดูแลรักษาได้
มีบาดแผลเล็กน้อยและไม่ใช่ตำแหน่งที่ทำใหเกิดการเสียโฉม เช่น ที่ใบหน้า
ฉุกเฉิน
บาดแผลเหวอะหวะบริเวณใบหน้าหรือบริเวณใดที่มีขนาดกว้าง สกปรกมาก ไม่สามารถจะให้การดูแลรักษาเองได้
งูกัด (Snake bite)
ชนิดของงู
งูไม่มีพิษ
งูแม่ตะง่าว งูปล้องฉนวนหลังเหลือง งูเห่ามังหรืองูแส้ม้า งูดอกหมากแดง งูทางมะพร้าว (งูปล้องไฟ) งูเหลือม งูหลาม งูปากจิ้งจก งูลายสาบ งูลายสอ งูก้นกบ งูงอด งูปี่แก้ว งูแสงอาทิตย
งูพิษ
พิษต่อระบบเลือด (hematotoxin)
งูกะปะ
งูแมวเซา
งูเขียวหางไหม้
พิษต่อระบบกล้ามเนื้อ (myotoxin)
งูชายธง
งูแสมรัง
งูคออ่อน
พิษต่อระบบประสาท (neurotoxin)
งูจงอาง
งูสามเหลี่ยม
งูเห่า
งูทับสมิงคลา
อาการ
พิษต่อระบบเลือด
ปวดเมื่อยตามแขนขาลำตัว เอี้ยวคอลำบาก
กลอกตาไม่ได้
ไม่สามารถเคลื่อนไหวแขน ขา และร่างกายได้
กล้ามเนื้ออักเสบรุนแรง
ระบบปัสสาวะล้มเหลว
ระบบหายใจล้มเหลว
มีพิษต่อระบบประสาท
หายใจลำบาก
หมดสติ
ขากรรไกรแข็ง อ้าปาก
ไม่ขึ้น อ่อนเพลีย หมดแรง
กระวนกระวาย
ตาย
มึนงง เวียนศีรษะ หนัง
ตาตก ลืมตาไม่ขึ้น
งูไม่มีพิษ
อาจจะมีอาการปวดบวมมีเลือดออกไม่มาก
ผู้ป่วยไม่มีอาหาผิดปกติอื่นใดที่ชัดเจน
พิษต่อระบบกล้ามเนื้อ
หมดสติ
ปวดท้อง แน่นหน้าอก
กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตลดต่ำลง
มีปัสสาวะเป็นเลือด
มีจ้ำเลือด
มีเลือดออกจากแผลเหงือก ไรฟัน ริมฝีปาก
ปวดมาก บวมมาก
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
งูมีพิษกัด
ห้ามกรีดแผลหรือใช้ไฟจี้แผล
ดูแลเบื้องต้น
ตรวจดูบาดแผล และรอยเขี้ยวพิษ
งูเห่าพ่นพิษถูกที่ใบหน้าหรือนัยน์ตา ให้ล้างด้วยน้ำสะอาด
ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
ดูแลบาดแผล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
NPO แต่ถ้าเป็นงูทะเล ดื่มน้ำมากๆ เพื่อขับปัสสาวะและพิษงู
เคลื่อนไหวร่างกายให้น้อยที่สุด
อธิบายให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลหรือตกใจ
ไม่ควรใช้ปากดูดที่แผล
ไม่ควรใช้ยาสมุนไพรใดๆ มาพอกที่แผล
Refer ไป รพ.ที่พร้อมรักษา
งูไม่มีพิษกัด
รักษาตามอาการ
ประคบเย็น
รับประทานยาแก้ปวด
ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อ
ให้ยาป้องกันบาดทะยัก (ตามแนวทางมาตรฐาน)
ทำความสะอาดบาดแผลด้วย
น้ำยาฆ่าเชื้อ หรือน้ำสะอาดและสบู
สังเกตอาการ และนัดตรวจซ้ำเพื่อติดตามการรักษา
ถ้าไม่ทราบชนิดของงูให้การดูแลรักษา
เหมือนงูพิษกัด