Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน, นางสาวศุภาพิชญ์ อรัญศรี รหัสนักศึกษา…
บทที่ 5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน
Gestational diabetes mellitus, GDM
การวินิจฉัย
การประเมินภาวะเสี่ยง
ครอบครัว
อายุมากกว่า 35 ปี
BMI>27 kg/m2
คลอดผิดปกติ
Hx:DM
Urine :Trace
Glucose challenge test
Glucose 50 g.1 ชม.
-Plasma glucose >140มก./ดลส่ง OGTT
-140-199mg/dlนัด1 wk. มาตรวจDM
-200mg/dl = GDM
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ทารกแรกเกดิเสี่ยงต่อการเกดิอนัตรายจากภาวะน้ำตาล ในเลือดต่ำ ่เนื่องจากเนื่องจากภาวะเบาหวานขณะ ตั้งครรภ์
วิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอดและความปลอดภัยของ บุตร เนื่องจากมีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
มีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ/สูงในระยะรอ คลอดและคลอด เนื่องจากภาวะเบาหวานขณะต้้งครรภ์
มีโอกาสเกิดการตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมีภาวะ เบาหวานขณะต้้งครรภ์
การดูแลรักษา
ระยะตั้งครรภ์
งดอาหารน้ำตาล
การใช้ Insulin
ควบคุมอาหาร(C:55%, F:25%, P:20%)
ความสะอาดของร่างกาย
การสังเกตเด็กดิ้น
ควบคุมน้ำหนัก
การสังเกตภาวะแทรกซ้อน
ระยะคลอด
การใช้ Insulin
IV fluid
การกำหนดเวลาคลอด
การคลอดตามข้อบ่งชี้
ก่อนการตั้งครรภ์
การเสริมวิตามิน
การประเมินพยาธิสภาพ
สภาพทางเศรษฐกจิและสังคม
การควบคุมระดับกลูโคส
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
การออกกำลังกาย
ระยะหลังคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทั่วไป
ควบคุมระดับน้ำตาล
Breast feeding
การดูแลทำรก
กำรคุมกำเนิด
GDM Overt Diabetes mellitus
ก่อนการตั้งครรรภ์ ก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์
ทารกตัวไม่โตเท่า GDM
Type I
insulin dependent
Type II
noninsulin dependent
Gestational diabetes mellitus
ตรวจพบคร้ังแรกระหว่างการ ต้้งครรภ์
A-1
ควบคุมอาการ
A-2
ใช้ insulin
ผลต่อการตั้งครรภ์
ต่อมารดา
Pregnancy induced hypertension
Infection
Diabetic nephropathy
Preterm birth
Diabetic retinopathy
Polyhydramnios
Dystocia
Postpartum hemorrhage
ต่อทารก
Fetal death or Stillbirth
Macrosomia
Malformation
IUGR
Abortion
ต่อทารกแรกเกิด
Neonatal hypocalcemia
Hyperbilirubinemia
Neonatal hypoglycemia
Polycythemia
Respiratory distress syndrome
Hypertrophic and congestive cardiomyopathy
Inheritance of diabetes
Hypothyroidism
การวินิจฉัย
อาการ
นน.เพิ่ม
ทนเย็นไม่ได้
ผมร่วง เล็บเปราะ เสียงแหบ
เบื่ออาหาร
ผิวแห้งกร้าน
การตรวจ
Tต่า DTRช้ำ
ระดับ FT4ต่า ระดับ TSH จะสูง
ประวัติ
การใช้ยาlithium
การรักษามาก่อน
สาเหตุ
จากการรักษาผ่าตัด หรือจากสารรังสีรักษา
จากการขาดไอโอดีน
มีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์
แนวทางการรักษา
ปรับขนาดยาตามระดบั TSH , T4
ติดตามการทำงานของต่อมไทรอยด์ทุกไตรมาส
Levothyroxine(T4)ขนาด 100-200 mg/วัน วันละคร้ัง นาน 3 สัปดาห์ ซึ่งยาไม่ผ่านรก
Hyperthyroidism
แนวทางการรักษา
การผ่าตัด
การให้ยา
Propylthiouracil (PTU) 100-150 mg/day
Methimazole
Adrenergic blocking agent (Inderal)
Radioiodine therapy
Thyroid storm
หัวใจเต้นเร็ว ชีพจร 140คร้ัง/นาท
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย
ไข้ 38.5 องศาเซลเซียส หลังจากการคลอดหรือการ ผ่าตัดคลอด2-3ชั่วโมง
สับสน ชัก จนหมดสติ
TX: ยาต้านไทรอยด์ฮอร์โมน และ iodine การรักษาแบบประคับประคอง
การวินิจฉัยโรค
ตรวจร่างกาย
ตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ
เจาะเลือดตรวจ TSH จะต ่า T3uptake สูง T4สูง ค่าปกติของ TSH = 0.35-5 mU/dl ,FT4= 0.8-2.3 ng/dl, Total T3= 80-220 ng/dl
การตรวจเลือด เช่น CBC
การซักประวัติ
สาเหตุ
Graves
Plummer’s disease
Toxic adenoma
นางสาวศุภาพิชญ์ อรัญศรี รหัสนักศึกษา 602701098 เลขที่ 97