Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 อาหารที่เหมาะสมสำหรับบุคคลในภาวะและวัยต่างๆ - Coggle Diagram
บทที่6
อาหารที่เหมาะสมสำหรับบุคคลในภาวะและวัยต่างๆ
วัยรุ่น
พฤติกรรมการบริโภค
1.บริโภคตามกระแสนิยม
2.งดอาหารบางมื้อ
ความสำคัญของ
อาหารในวัยรุ่น
1.กินอาหารให้ครบทั้ง5หมู่
2.กินให้ครบ3มื้อ
3.วัยรุ่นที่ควบคุมน้ำหนัก
ไม่ทานไขมัน อาหารทอดในปริมาณที่เยอะเกินไป ควรทานผัก ผลไม้ให้มากขึ้น โดยเฉพาะผลไม้ที่มีวิตามินและใยมาก
วัยผู้ใหญ่
โภชนบัญญัติ 9ประการ
1.กินอาหารครบ5หมู่แต่ละหมู่ให้หลากหลายและหมั่นดูแลน้ำหนักตัว
2.กินข้าวดป็นอาหารหลักสลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ
3.กินพืชผักให้มาก และกินผลไม้เป็นประจำ
4.กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ ถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ
5.ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
6.กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร
7.หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด
8.กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน
9.งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอออล์
วัยผู้สูงอายุ
ปัญหาในการกินอาหารของผู้สูงอายุ
1.ปัญหาเรื่องเหงือกและฟัน
2.การรับรสชาติอาหารลดลง
3.การรับกลิ่นอาหารลดลง
4.นิสัยการกินไม่ถูกต้อง
5.ความกังวลในจิตใจ
6.ความกังวลในด้านเศรษฐกิจของตนเองและครอบครัว
7.อุปสรรคทางกาย
การจัดอาหาร
หมู่1 เนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วเหมล็ดแห้งต่างๆ
เนื้อสัตว์ :สับละเอียด ต้มเปื่อย ควรทานปลา
ไข่:สัปดาห์ละ3-4ฟอง
ถ้ามีปัญหาไขมันในเลือดสูง ควรกินเฉพาะไข่ขาว
นม:วันละ1แก้ว หากรูปร่างอ้วนหรือไขมันในเลือดสูงควรดื่มนมพร่องมันเนยหรือนมถั่วเหลืองแทน
ถั่วเมล็ดแห้ง:ใช้แทนเนื้อสัตว์ โปรตีนสูง ราคาถูก
หมู่2 ข้าว แป้ง น้ำตาล
เผือก มัน
ควรทานข้าวกล้องแทนข้าวขาว น้ำตาลไม่ฟอกสีแทนน้ำตาลทรายขาว
หมู่3 ผักต่างๆ
ควรเป็นผักที่ต้มสุกหรือนึ่งจนสุกนิ่ม ไม่บริโภคผักดิบเพราะ
ย่อยยาก ทำให้มีแก๊สท้องอืด
หมู่4 ผลไม้ต่างๆ
ควรกินผลไม้ทุกวัน และเลือกผลไม้ที่เนื้อนุ่มเคี้ยวง่าย ได้แก่ มะละกอ กล้วยสุก ส้ม
หมู่5 ไขมันจากสัตว์ พืช
ไม่ควรทานมากเพราะอาจเกิดไขมันอุดตันในเส้นเลือดได้ หลีกเลี่ยงการใช้ไขมันจากสัตว์และน้ำมันมะพร้าว
นักกีฬาและผู้ออกกำลังกาย
โปรตีน
นักกีฬาที่ต้องใช้กล้ามเนื้อต้องการเพิ่ม
1-1.5กรัม/น้ำหนักตัว1กิโลกรัม
เนื้อสัตว์ ไข่ขาว ถั่ว นม
ไขมัน
ควรใช้น้ำมันที่มาจากพืช เช่น น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันงา น้ำมันดอกทานตะวัน
วิตามิน เกลือแร่
ช่วยในการเผาผลาญของร่างกาย ในผัก ผลไม้ชนิดต่างๆ
เหล็ก
ถ้าขาด:สมรรถภาพของนักกีฬาลดลง
แคลเซียม
เสริมสร้างความแข็งแรงให้กับกระดูก ควรดื่มนมพร่องมันเนย อย่างน้อยวันละ2แก้ว
วัยทำงาน
20-59ปี
สาเหตุของ
ปัญหาสุขภาพ
อายุมากขึ้น
ความอ้วน
ความเครียดจากการทำงาน
ขาดการออกกำลังกาย
การสูบบุหรี่
ดื่มเครื่องดื่มชา
ทานอาหารไขมันสูง
ทานอาหารรสเค็มจัด
ทานอาหารพวกแป้ง น้ำตาลปริมาณมาก
ขาดสารอาหารพวกวิตามิน
การดูแลสุขภาพ
ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ตามเกณฑ์ ดัชนีมวลกายไม่เกิน25
ตรวจสุขภาพประจำปี
หมั่นออกกำลังกายสม่ำเสมอ
หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอออล์
ดื่มน้ำสะอาดวันละ 6-8แก้ว
รับประทานอาหารให้ครบ5หมู่
ทานแป้งเป็นข้าวกล้องหรือข้าวซ้อมมือ วันละ8-12ทัพพี
จำกัดปริมาณน้ำตาลในการบริโภคอาหาร
หลีกเลี่ยงการทานอาหารรสจัด เค็มจัด
ทานเนื้อสัตว์พอปริมาณ วันลั6-12ช้อนกินข้าว เน้นเนื้อปลา
สารอาหาร
โปรตีน
เนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว นม
เสริมสร้าง ซ่อมแซมเนื้อเยื่อส่วนที่สึกหรอ สร้างฮอร์โมน เอนไซม์
เม็ดเลือดแดง
วิตามินเอ
ตับ น้ำมันตับปลา ไข่แดง ผักสีแดง เขียว เหลือง
การมองเห็น การเจริญเติบโตของกระดูก ภูมิคุ้มกัน
วิตามินบี1
ข้าวซ้อมมือ เนื้อหมู ตับ
บำรุงระบบประสาท การทำงานกล้ามเนื้อ หัวใจ
วิตามินบี6
นม ไข่ ถั่ว ปลา ตับ จมูกข้าวสาลี
การทำงานระบบย่อยอาหาร บำรุงผิว ระบบประสาท สร้างฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
วิตามินบี12 ยีสต์ ตับ ไข่ เนื้อปลา
สร้างเม็ดเลือดแดง ลดอาการซึมเศร้า โรคเหน็บชา ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ
วิตามินซี
ผักใบเขียว มันฝรั่ง พริกหวาน ผลไม้รสเปรี้ยว
การเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
รักษาสุขภาพฟันและเหงือก หลอดเลือดแข็งแรง
เหล็ก
ตับ เนื้อสัตว์ ไข่แดง หอยนางรม
ส่วนประกอบของฮีโมโกลบินและสารภูมิคุ้มกันในเซลล์
แคลเซียม
ปลาเล็กปลาน้อย นม ผักใบเขียว เต้าหู้
บำรุงกระดูกและฟันให้แข็งแรง ป้องกันภาวะกระดูกพรุน การยืดหดของกล้ามเนื้อ ช่วยแข็งตัวของเลือด