Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีความบกพร่องของสติปัญญา และภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง,…
การพยาบาลบุคคลที่มีความบกพร่องของสติปัญญา และภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง
โรคพาร์กินสัน (PARKINSON'SDISEASE)
สาเหตุ
ร่างกายขาดสารโดปามีนในสมอง
เกิดจากการเสื่อมและตายไปของเซลล์สมองที่สร้างสารโดปามีน
สารโดปามีนนี้มีความสาคัญต่อการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
อาการ
อาการสั่น(tremor)
อาการสั่นขณะอยู่เฉยๆ อาการสั่นนี้จะมีลักษณะเฉพาะคือ สั่นมากเวลาอยู่นิ่งๆ แต่ถ้าเคลื่อนไหวหรือยื่นมือทาอะไรอาการสั่นจะลดลงหรือหายไป
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง (rigidity)
เคลื่อนไหวช้า (bradykinesia)
อาการทรงตัวลำบาก(postural instability)
การรักษา
การรักษาโดยการใช้ยา
1.1 ยาที่ช่วยชะลออาการ (neuroprotective therapy) จะช่วยชะลอการดาเนินไปของโรค เช่น ยา elegiline (Deprenyl) จะใช้บ่อยมักใช้ควบคู่ไปกับยา Levodopa จะช่วยป้องกันการทาลายโดปามีนในสมอง
1.2 รักษาตามอาการ ได้แก่ anticholinergic ใช้สาหรับอาการสั่น Levodopa ช่วยในการทดแทนสารสื่อประสาทที่ลดน้อยลง
การรักษาด้วยการทากายภาพบาบัด
การผ่าตัดสมอง
การรักษาโดยการฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าในสมอง เรียกว่าdeep brain stimulation (DBS)
การวินิจฉัยการพยาบาล
มีระดับการช่วยเหลือตนเองลดลงเนื่องจากการเคลื่อนไหวบกพร่อง
ความสามารถในการสื่อสารบกพร่องเนื่องจากอาการสั่นหรือหดเกร็งของกล้ามเนื้อริมฝีปากหรือลิ้น
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากกล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับการเคี้ยวและการกลืนอ่อนแรง สั่นหรือหดเกร็ง
ผู้ป่วยและญาติขาดความรู้เรื่องโรคและการรักษา
ALZHEISMER’S
ปัจจัยเสี่ยง
อายุพบว่า ผู้ป่วยส่วนมากอายุ 65 ปีขึ้นไป แต่บางกรณีผู้ป่วยเริ่มมีอาการตอนอายุ 40 ปีปลายๆ
ประวัติการป่วยภายในครอบครัว
ป่วยด้วยโรคดาวน์ซินโดรมหรือพากินสัน (Down's syndrome/ Parkinson's disease)
พยาธิสรีรวิทยา
สมองเหี่ยวและมีน้าหนักลดลง ร่องสมอง(succus) และ ventricleกว้างขึ้นและยังพบว่า acetylcholineซึ่งเป็นสารสื่อประสาทในสมองที่ทาหน้าที่เป็นตัวกระตุ้น มีปริมาณลดลง
อาการ
1.อาการทางเชาวน์ปัญญา (cognitive aspect)เช่น ความจาเสื่อมลง มีความผิดปกติด้านการใช้ภาษา การคิด การใช้เหตุผล การรับรู้ลดลง หรือมีการตัดสินใจบกพร่อง
2.พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงร่วมกับอาการทางจิต (behavioural and psychological symptom of dementia)ได้แก่ การมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงและอาการทางจิต
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติจากญาติที่ดูแล
การตรวจร่างกาย
และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ตรวจเลือด
เอ็กซเรย์สมองด้วยคอมพิวเตอร์, คลื่นแม่เหล็ก (MRI)
การรักษา
การรักษาส่วนใหญ่เพื่อบรรเทาอาการที่เกิดขึ้น เช่น การทากายภาพบาบัด การรับประทานอาหารที่เหมาะสม การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม จะช่วยให้ผู้ป่วยอาการดีขึ้น และสามารถปฏิบัติตัวได้ดีขึ้น
การให้ยาสามารถช่วยลดความกังวล จะช่วยให้ผู้ป่วยนอนหลับและสามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้
การวินิจฉัยการพยาบาล
1.การดูแลตนเองบกพร่องเนื่องจากความจาเสื่อมไม่สามารถแยกได้ถึงความ
เหมาะสมกันหรือไม่เหมาะสมในการ แต่งกาย การกิน การเข้าห้องน้า
มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องจากความผิดปกติ ของเชาวน์ปัญญา
สูญเสียทักษะการเข้าสังคมเนื่องจากความผิดปกติของเชาวน์ปัญญา
ผู้ดูแลมีภาวะเครียดเนื่องจากภาระในการดูแลและพฤติกรรมของผู้ป่วย
การพยาบาล
1.ประเมินความสามารถของผู้ป่วยในการทากิจวัตรประจาวันต่างๆ ถ้าไม่สามารถทาได้พยาบาลต้องช่วยดูแล
2.จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนนอนหลับอย่างเพียงพอ วางแผนจัดกิจกรรม ตอนกลางวันให้เหมาะสม เพื่อจะได้นอนหลับได้ในตอนกลางคืน
3.พยาบาลต้องหมั่นตรวจสอบร่างกายผู้ป่วยอยู่เสมอ ควรบันทึกพฤติกรรมตั้งแต่แรกรับ สังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้น เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยต่อไป
4.การตรวจสอบกิจกรรมของผู้ป่วยอยู่เสมอ จะช่วยให้พยาบาลจัดสิ่งแวดล้อมได้เหมาะสม เช่น พื้นที่ลื่น ทางเดินไม่สะดวก ถ้าไม่มีข้อห้ามพยาบาลต้องช่วยให้ผู้ป่วยออกกาลังกาย
ป้องกันการกระตุ้นผู้ป่วยมากเกินไป หลีกเลี่ยงการให้งานที่ก่อความวิตกกังวล
ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการซึมเศร้า อ่อนล้า ถอยหนีจากสิ่งแวดล้อม แยกตัว พยาบาลต้องประเมินเหตุแห่งความซึมเศร้า เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึก
MULTIPLESCLEROSIS
สาเหตุและปัจจัย
ภูมิคุ้มกันเชื่อว่าอาจเกิดจากการที่ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต้านเนื้อเยื่อตนเอง
การอักเสบติดเชื้อจากไวรัสอย่างช้าๆซึ่งอาจติดเชื้อมาตั้งแต่วัยหนุ่มสาว
3.กรรมพันธุ์ในผู้ที่มาจากครอบครัวที่มีประวัติเป็นมัลติเพิลสเคอโรซิส พบว่ามีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าคนทั่วไปถึง 12-15 เท่า
สภาพแวดล้อมยังไม่ทราบปัจจัยที่แน่นอน
พยาธิสรีรวิทยา
โรคนี้จะกระจัดกระจายอยู่ใน CNS มีการทาลายของ Myelin nerve axon sheaths และบางครั้ง axon ก็ถูกทาลายด้วย ทาให้การส่งกระแสประสาทขาดช่วงเป็นระยะๆ บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนแปลงกระจายเป็นหย่อมๆ จะเกิดตาแหน่งไหนไม่แน่นอน ทำให้อาการแสดงไม่แน่นอนด้วย
อาการ
1.แขนขาอ่อนแรง เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด กล้ามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) ของขา ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการอัมพาตท่อนล่าง รีเฟล็กซ์ไวกว่าปกติ(hyperreflexia) มี Babinski’ssign ทั้ง 2 ข้าง
พูดตะกุกตะกัก (dysarthria) ลูกตากระตุก (nystagmus) อาการสั่นเมื่อตั้งใจ (intention termor)
การรับความรู้สึกผิดปกติรวมถึงอาการชาและอาการเสียวแปลบของแขนขา ลาตัวหรือใบหน้า อาจมีอาการเหมือนถูกไฟฟ้าช็อตเมื่อผู้ป่วยก้มหน้าเรียกว่า “Lhermittesign” ซึ่งเกิดจากรอยโรคที่ส่วนหลังของกระดูกไขสันหลังระดับคอ
กล้ามเนื้อใบหน้าส่วนครึ่งล่างอ่อนแรง มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อใบหน้าซีกใดซีกหนึ่ง ปวดประสาทใบหน้า(trigeminal neuralgia) อาการกลืนลำบาก พบได้ในผู้ป่วยระยะก้าวหน้าของโรคเนื่องจากมีรอยโรคในซีรีเบลลัม
การเห็นผิดปกติ เห็นภาพซ้อน ภาพมัว หรือสายตาเสื่อมลง อาจเป็นได้ทั้งข้างเดียวหรือ 2 ข้าง ลานสายตาผิดปกติ
ระบบการขับถ่ายเสียหน้าที่ การขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะผิดปกติ เช่น การกลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะกระปริบกระปรอย
ความผิดปกติทางด้านอารมณ์และจิตใจที่พบบ่อยได้แก่ อาการซึมเศร้า ความจาเสื่อม มีอาการทางจิตประสาท
การวินิจฉัยโรค
จากอาการเฉพาะที่ทางคลินิคที่ปรากฎให้ชัดเจน
การเจาะหลังพบ ระดับ grammar globulin ในน้าไขสันหลังมีค่าสูง รวมทั้งโปรตีนและเม็ดเลือด
CT scan จะพบการเปลี่ยนแปลง ฝ่อลีบ หรือเหี่ยว
การตรวจคลื่นสมอง อาจพบความผิดปกติได้
การรักษา
การให้ ACTH(adrenocorticotrophic hormone), Prednisolone, Dexamethasone เพื่อลดภาวะบวมของมัยอิลิน
การรักษาทางยา ส่วนใหญ่แพทย์จะให้ยาลดอาการกล้ามเนื้อกระตุก
ให้ยาลดสภาพของอารมณ์ที่ไม่มั่นคง เช่น Diazepam
การทากายภาพบาบัด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เดินออกกาลังกายปกติ และการเดินออกกาลังกายในสระน้าเพื่อการบาบัด
การพยาบาล
ส่งเสริมและช่วยเหลือให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหว ออกกาลังกายและฝึกการใช้กล้ามเนื้อต่างๆ
ช่วยเอื้ออานวยให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวต่อภาวะเครียดที่เกิดขึ้นจากผลของโรค
ป้องกันปัญหาและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ปัญหาที่พบบ่อย คือ ปัญหาการปัสสาวะไม่ออก ท้องผูก
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนได้เต็มที่ ตลอดจนช่วยเหลือในด้านความสุขสบายต่างๆ เนื่องจากผู้ป่วยจะมีปัญหานอนไม่หลับ
ระมัดระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากผู้ป่วยมีปัญหาการมองเห็นภาพซ้อน ตากระตุก พยาบาลควรจัดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย ยกไม้กั้นเตียงขึ้นเสมอ
GUILLAIN-BARRESYNDROME(GBS)
สาเหตุ
เชื่อว่าเกิดจากภูมิต้านทานของตนเองที่ร่างกายสร้างขึ้นภายหลัง มีการติดเชื้อโดยเฉพาะเชื้อไวรัสโดยมักพบกลุ่มอาการนี้ภายหลังมีการติดเชื้อในร่างกาย
อาการ
อาการทางด้านประสาทรับความรู้สึกจะปรากฎหลังจากมีการติดเชื้อ 1-3 สัปดาห์ ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการชาเหน็บ (Tingling) และเจ็บโดยเฉพาะปลายแขนขา หลังจากนั้น 1-4 วัน จะมีอาการปวด และกดเจ็บของกล้ามเนื้อ แล้วจึงมีอาการอ่อนแรงตามมา
อาการของกล้ามเนื้ออ่อนแรงมักจะเกิดอาการอ่อนแรง ตามหลังอาการชา มักเริ่มด้วยขา อ่อนแรง เดินลาบาก อาการอ่อนแรงจะลุกลามอย่างรวดเร็ว จะเริ่มจากขา ลุกลามขึ้นมาที่แขนและลาตัว เมื่อมีการลุกลามไปยังกล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจ มักจะทาให้เกิดปัญหาการหายใจล้มเหลว
อาการลุกลามของประสาทสมองโดยเฉพาะประสาทสมองคู่ที่ 7 คู่ที่ 9 พบว่ามีความผิดปกติร้อยละ 75 ของผู้ป่วย ส่วนประสาทสมองคู่ที่ 10 พบ ร้อยละ 50 ทาให้ผู้ป่วยมีปัญหาในการกลืน พูด หายใจ มีอัมพาตของหน้า
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติจะพบมีความผิดปกติ
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย จะพบอาการอ่อนแรงอย่างมาก รีเฟล็กซ์จะลดลง อัมพาตแขนขาทั้งสองข้าง พูดไม่ชัด กลั้นอุจจาระปัสสาวะไม่ได้ และหายใจขัด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและอื่นๆ
การเจาะหลัง
การตรวจการนาไฟฟ้าของกล้ามเนื้อ (EMG: Electromyogram)
การตรวจการนาไฟฟ้าของเส้นประสาท (NCV: nerve conduction velocity)
การรักษา
การช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลว ผู้ป่วยควรได้รับการใส่ท่อหลอดลมและเครื่องช่วยหายใจ เมื่อมีค่าความดันของออกซิเจนในเลือดแดง (PaO2 ) น้อยกว่า 60 มม. ปรอท
การให้ยากลุ่มสตีรอยด์ ในแง่ของการต้านขบวนการอักเสบ ช่วยลดการ อ่อนแรงของกล้ามเนื้อได้
การเปลี่ยนถ่ายพลาสม่า (plasmapheresis)
MYASTENIA GRAVIS
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของการทางานของกล้ามเนื้อ
อาจพบร่วมกับคนที่มีต่อมไทมัส(thymus gland) โต
เชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับออโตอิมมูน(autoimmune)
อาการ
ที่พบได้บ่อย คืออาการหนังตาตก (ptosis)ซึ่งมักเกิดเพียงข้างเดียว นอกจากนี้อาจมีอาการตาเข มองเห็นภาพไม่ชัด เห็นภาพซ้อน (diplopia)
ถ้าเป็นมากขึ้น อาจมีอาการพูดอ้อแอ้ กลืนลาบาก พูดเสียงขึ้นจมูก หรืออาจมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ร่วมด้วย
ในรายที่เป็นมากอาจมีอาการอ่อนแรงของแขนขาบางส่วนจนลุกขึ้นยืนหรือเดินไม่ได้ และถ้าเป็นรุนแรงก็อาจทาให้กล้ามเนื้อช่วยหายใจเป็นอัมพาต หยุดหายใจตายได้
ภาวะผิดปกติที่ตาแหน่งรอยต่อระหว่างเส้นใยประสาทและใยกล้ามเนื้อ (neuromuscular junction) ส่งผลกระทบต่อการส่งกระแสประสาทในร่างกาย
Myasthenia crisis
เกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่างมาก ทาให้เกิดอาการชาและอัมพาตทั้งแขน ขา ลาตัว หายใจตื้นๆ ปริมาตรอาการเข้าปอด(Tidal volume) และความจุปอดลดลง ผู้ป่วยจะกลืนลำบากนา ไปสู่การหยุดหายใจได้
การวินิจฉัยโรค
การอาศัยประวัติ
ตรวจร่างกาย อาการและอาการแสดง
ทดสอบโดยการฉีดนีโอสติกมีน(Neostigmine) 1.5 มิลลิกรัม เข้าใต้หนัง หรือฉีดเทนซิลอน(Tensilon)10 มิลลิกรัม เข้าหลอด เลือดดา ซึ่งจะทาให้อาการดีขึ้นถ้าเป็นโรคนี้
นอกจากนี้จะมีการตรวจพิเศษอื่นๆ ได้แก่CT-scan หรือ MRI
การรักษา
1.การให้Anticholinesteraseได้แก่เมสตินอล(Mestinon)หรือ พรอสติกมิน (Prostigmin)
คอร์ติโคสตีรอยด์ เนื่องจากเชื่อว่า มายแอสทีเนียกราวิสเกิดจากความผิดปกติทางด้านอิมมูน จึงใช้ ให้สเตียรอยด์เพื่อกดการสร้างอิมมูนที่ผิดปกติ
รายที่ตรวจพบว่ามีต่อมไทมัสโตร่วมด้วย อาจต้องผ่าตัดเอาต่อมไทมัสออก (thymectomy) ซึ่งอาจจะช่วยให้อาการดีขึ้น
การเปลี่ยนพลาสม่า(plasmapheresis)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.การกาซาบของเนื้อเยื่อสมองลดลง เนื่องจากความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากการบาดเจ็บที่สมอง เลือดออกในสมอง สมองบวม การติดเชื้อที่สมอง โรคหลอดเลือดสมอง Hydrocephalus
1.ประเมิน Vital sign , Neurosignติดตามผลการตรวจตามเกณฑ์เบื้องต้น
2.ลดความดันในกะโหลกศีรษะโดยจัดท่าศีรษะสูง 30องศา
รักษาแนวของศีรษะและลาตัวให้อยู่ในแนวปกติ
หลีกเลี่ยงท่าที่เพิ่มแรงดันในช่องท้องหรือช่องอก เช่น การงอสะโพก ท่าคว่า
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่เพิ่มแรงดันในกะโหลกศีรษะ เช่น Isometric exercise
รักษาระดับความดันโลหิตให้อยู่ในช่วง90/60 –140/90 mmHg
จัดสิ่งแวดล้อมที่สงบเงียบ ลดสิ่งกระตุ้น
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
2. ขาดประสิทธิภาพในการทาทางเดินหายใจให้โล่ง เนื่องจากไม่สามารถไอเอาเสมหะออกจากภาวะไม่รู้สึกตัว
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยดูดเสมหะให้อย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมงและเมื่อได้ยินเสียงเสมหะในปอดหรือลาคอ
จัดท่านอนให้นอนศีรษะสูง ในผู้ป่วยที่มีปัญหาในการเคลื่อนไหวควรดูแลเปลี่ยนท่าให้ทุก 1-2 ชั่วโมง เพื่อให้ปอดขยายตัวได้ดี
วัดสัญญาณชีพให้ ทุก 2-4 ชั่วโมง และบ่อยขึ้น ในช่วงวิกฤตที่ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะกล้ามเนื้อหายใจอ่อนแรง ประเมินสมรรถภาพการหายใจของผู้ป่วย และสังเกตภาวะการขาดออกซิเจนหรือภาวะการหายใจวายเฉียบพลัน
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
3. เสี่ยงต่อการสาลักเนื่องจากระดับการรู้สติลดลง รีเฟล็กซ์การไอและการขย้อนลดลง ใส่คาท่อ Tracheostomyหรือ Endotracheal
1.ประเมินความสามารถในการกลืนการขย้อนของผู้ป่วยก่อนให้ผู้ป่วยได้รับอาหาร และจัดท่าศีรษะสูงเพื่อป้องกันการสาลัก
ประเมินเสียงปอด ลักษณะการหายใจ
ดูดเสมหะให้โล่งโดยเฉพาะบริเวณ Oropharynxและถ้าผู้ป่วยใส่คาท่อช่วยหายใจ ควรเป่าลมเข้า cuff ตามขนาดความดันที่จากัด เพื่อป้องกันการสาลักเอาสิ่งคัดหลั่ง จากOropharynxเข้าหลอดลม
ผู้ป่วยที่ใส่ท่อให้อาหารตรวจดูตาแหน่งของท่ออาหารก่อนให้อาหาร และดูดดูปริมาณสารอาหารที่ตกค้างในกระเพาะอาหาร
4. การรับความรู้สึกและการรับรู้เปลี่ยนแปลงเนื่องจาก-การไม่รับรู้ต่อการเคลื่อนไหว-การไม่รับรู้ต่อการสัมผัส-การมองเห็นเปลี่ยนแปลง
ประเมินภาวะความผิดปกติและระดับของการรับความรู้สึก
ประคบปิดตาข้างใดข้างหนึ่งเพื่อลดอาการเห็นภาพซ้อน
ถ้าผู้ป่วยมีปัญหาเกี่ยวกับตาบอดครึ่งซีก แนะนาให้ผู้ป่วยกวาดสายตาไปรอบๆตัวเพื่อตรวจดูสิ่งแวดล้อมที่มองไม่เห็นในด้านที่เสีย
แนะนาให้ผู้ป่วยรู้จักตาแหน่งและสิ่งของเครื่องใช้ที่วางอยู่รอบๆตัว
พยายามกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ใช้ แขน ขาหรือร่างกายด้านที่เสียหรือเป็นอัมพาต
การให้การพยาบาลทุกครั้ง ควรเข้าหาผู้ป่วยเฉพาะด้านที่เป็นอัมพาตเท่านั้น
จัดสิ่งแวดล้อมที่เรียบง่ายและปลอดภัย
7. มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรค/สูญเสียภาพลักษณ์/สูญเสียอานาจในการควบคุมตนเอง/สูญเสีย ค่าใช้จ่ายในการรักษา
6. การเคลื่อนไหวบกพร่องเนื่องจากความผิดปกติของระบบประสาท
5. การสื่อสารบกพร่องเนื่องจาก การได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ สมองซีกเด่นถูกทำลาย
นางสาวกนกวรรณ จันทร์น้อย เลขที่1 รหัส 612501001 :<3:
:red_flag:
:red_flag:
:red_flag:
:red_flag:
:red_flag:
:red_flag:
:red_flag:
:check:
:warning:
:star:
:explode:
:unlock: