Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไข้เลือดออก - Coggle Diagram
โรคไข้เลือดออก
การพยาบาล
-
-
-
-
ระวังไม่ให้เกิดอุบัติเหตุที่เป็นสาเหตุของเลือดออก เนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำ เช่น งดออกกำลังกาย งดแปรงฟัน
การดำเนินการของโรค
-
- ระยะวิกฤต / ช็อก เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา ผู้ป่วยจะมีอาการเลวลง เริ่มมีอาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตเปลี่ยนแปลง Diastolic เพิ่มขึ้นเล็กน้อย Pulse pressure แคบเท่ากับหรือน้อยกว่า 20 มม.ปรอท (ค่าปกติ 30-40 มม.ปรอท )
-
พยาธิสภาพของโรค
ความหมาย
ไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever/DHF)
เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี (dengue virus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค
ระยะของโรคไข้เลือดออก
ระยะที่1 ระยะไข้สูง
ผู้ป่วยจะมีไข้สูง ซึ่งเกิดขึ้นฉับพลัน มีลักษณะไข้สูงลอยตลอดเวลา (กินยาลดไข้ก็มักจะไม่ลด) หน้าแดง ตาแดง ปวดศรี กระหายน้ำ ผู้ป่วยจะซึม มักมีอาการเบื่ออาหารและอาเจียนร่วมด้วยเสมอ
ระยะที่2 ระยะช็อกและมีเลือดออก มักจะพบในผู้ป่วยไข้เลือดออก ที่เกิดจากเชื้อเด็งกี่ที่มีความรุนแรงขั้นที่ 3 และ4
อาการจะเกิดขึ้นในช่วงระหว่างวันที่ 3-7 ของโรค
-
พยาธิสภาพ
มีไข้เป็นมา 4 วัน คลื่นไส้ อาเจียน 3 ครั้ง ถ่ายดำเป็นน้ำ 1 ครั้ง ปวดท้องชายโครงขวา จุกเเน่นลิ้นปี่ อ่อนเพลี เบื่ออาหาร มีผื่น convalescent rash ที่แขนขา หลังทำ toumiquet test ที่แขนข้างซ้าย ได้ผลเป็น positive คลำพบตับโต 1 fingerbase
อาการและอาการแสดง
หลังจากได้รับเชื้อจากยุงประมาณ 5-8 วัน (ระยะฟักตัว)ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการของโรคซึ่งมีความรุนแรงแตกต่างกันได้
อาการทางคลีนิค
- ไข้เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน และสูงลอย ประมาณ 2-7 วัน
- อาการเลือดออก อย่างน้อยมี touniquet test positive ร่วมกับอาการเลือดออกอื่น เช่น จุดเลือดออกที่ผิวหนัง เลือดกำเดา อาเจียน/ถ่ายเป็นเลือด
-
-
พาหะ
พาหะยุงลาย Aedes aegypti เป็นพาหะนําโรคยุงนี้จะกัดคนที่เป็นโรคและไปกัดคนอื่นๆ ในรัศมีไม่เกิน
400 เมตร ยุงนี้ชอบแพร่พันธุ์ในน้ำนิ่ง หลุม โอ่งน้ำขัง และจะออกหากินในเวลากลางวัน
ระยะการติดต่อ
ระยะที่ผู้ป่วยมีไข้สูงประมาณวันที่ 2-4 จะมีไวรัสอยู่ในกระแสเลือดมาก ระยะนี้จะเป็นระยะติดต่อจากคนสู่ยุงและระยะเพิ่มจํานวนของเชื้อไวรัสในยุงจนอีกประมาณ 8-10 วันจึงจะเป็นระยะติดต่อจากยุงสู่คน
การรักษา
เช็ดตัวเมื่อมีไข้ด้วยน้ำธรรมดา หรือน้ำอุ่น หรือรับประทานยาลดไข้ งดยากลุ่มแอสไพริน การรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกนั้นยังไม่มียารักษาเฉพาะโรค เป็นเพียงการรักษาประคับประคองตามอาการอย่างใกล้ชิดโดยทั่วไปผู้ป่วยไข้เลือดออกจะมีไข้สูงมากและปวดศีรษะรุนแรงเบื้องต้นจึงใช้ยาระงับอาการคือ Acetaminophenหรือพาราเซตามอล ซึ่งเป็นยาแก้ปวดและลดไข้ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพรินซึ่งจะมีผลต่อเซลล์ เม็ดเลือดอาจกระทบต่อภาวะที่มีเลือดออกซึ่งทําให้อาการแย่ลงในกรณีทีผู้ป่วยอาเจียนและอ่อนเพลียจากไข้ แพทย์ จะให้น้ำเกลือเพื่อชดเชยการเสียน้ำในร่างกาย นอกจากนี้เป็นการรักษาตามอาการทีป่วยและเฝ้าระวังการเกิดอาการแทรกซ้อน