Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษา, นางสาวเรณุกา หลีคง…
การดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษา
รังสีรักษา หรือ Radiation therapy คือ การใช้รังสีซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟูาเพื่อการรักษาโรค malignant tumor และnon malignant tumor
ผลข้างเคียงจากการฉายรังสี
ผลข้างเคียงเฉียบพลัน (Acute Radiation Complication )
ขณะฉายรังสีถึงหลังฉายรังสีครบ 3เดือน
ผลข้างเคียงกึ่งเฉียบพลัน (SubacuteRadiation Complication )
หลังฉายรังสีครบ 3-6เดือน
ผลข้างเคียงระยะยาว (Late Radiation Complication )
หลังฉายรังสีครบ >6เดือน
การพยาบาลผู้ปุวยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายแสง
การพยาบาลก่อนการฉายรังสี
การพยาบาลทางด้านร่างกาย
1.1 การตรวจร่างกาย การซักประวัติ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษทางเอ็กซ์เรย์ ตรวจหรือรักษาพิเศษอื่นๆเพิ่มเติม
1.2 แนะนำเกี่ยวกับเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
1.3แนะนำเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
1.4 ดูแลรักษาความสะอาดร่างกายทั่วไป
1.5ซักประวัติโรคประจำตัวต่างๆ การรับประทานยาซึ่งใช้รักษาโรคอื่นๆที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
1.7 การตรวจนับเม็ดเลือด (CBC)
การพยาบาลทางด้านจิตใจ
2.1สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้ป่วย.
2.2ให้ความรู้และข้อมูลต่อผู้ป่วยและญาติ ขั้นตอนการรักษา เกี่ยวกับการฉายรังสี
2.3แนะนำกฎระเบียบโรงพยาบาล กำหนดเวลา และแผนการรักษาของแพทย์
2.5. ปลอบโยนและให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยสบายใจ ลดความกังวล
การพยาบาลระหว่างการฉายรังสี
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับผิวหนังบริเวณที่ถูกรังสี (Radiation skin reaction)
ไม่ให้ถูกน้ำขณะรักษาและภายหลังหยุดรักษาแล้วอย่างน้อย 1 เดือน
: ถ้ามีเหงื่อออกมากให้ซับเบา ๆ ให้แห้งโรยแป้งข้าวโพดเพื่อดูดความชื้น
: ห้ามลบเส้นที่ขีดทำเครื่องหมายขอบเขตไว้
: ป้องกันรอยขีดข่วน ความร้อนจัด เย็นจัดและแสงแดดทำให้เกิดระคายเคือง
: งดใช้ครีมหรือทายา ทาน้ำมัน เมื่อเห็นว่าผิวหนังลอกหรือสีเข้มมีผื่น
: ถ้ามีแผลให้ใช้น้ำอุ่น ๆ ซับให้แห้งด้วยความระมัดระวัง
: เวลามีอาการคันให้ใช้มือสัมผัสเบา ๆ ไม่เกาและควรตัดเล็บให้สั้นตลอดเวลา
สังเกตอาการผิดปกติจากการที่ไขกระดูกถูกกด และการติดเชื้อได้ง่าย ความต้านทานโรคต่ำ ซีด และเลือดออกง่าย( Bone marrow Suppression)
ให้เด็กได้อาหารที่มีแคลอรี่สูง
เด็กจะมีอาการอ่อนล้า ( Fatigue ) และเบื่ออาหาร ( Anorexia ) ดูแลให้พักผ่อนให้เพียงพอรับประทานอาหารที่ช่วยสร้างเม็ดเลือดและตรวจเลือดเป็นระยะๆ
การพยาบาลหลังการฉายรังสี
การดูแลผิวหนังบริเวณที่ฉายรังสี
การรับประทานอาหาร
แนะนำการพักผ่อนอย่างพอเพียง
ออกกำลังกาย/ พักผ่อน
แนะนำให้อยู่ในที่อากาศถ่ายเทดี ไม่ควรอยู่ในสถานที่แออัด
การมาตรวจตามแพทย์นัดทุกครั้ง
แนะนำอาการผิดปกติต่างๆ
นางสาวเรณุกา หลีคง 612601051