Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด - Coggle Diagram
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด
โลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ์
(Anemia in pregnancy)
Iron deficiency anemia
มีธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
การเสียเลือดเรื้อรังจากพยาธิปากขอ
โรคโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก 3 ระยะ
Iron deficiency erythropoiesis
ธาตุเหล็กสะสมหมดสิ้นลง
Iron deficiency anemia
ธาตุเหล็กเหลือไม่เพียงพอต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง
MCV, MCH, MCHC ต่ำกว่าเกณฑ์
Iron stores depletion
ร่างกายได้รับธาตุเหล็กจากอาหารไม่เพียงพอกับควาต้องการ
การรักษา
ให้ธาตุเหล็กผ่านทางหลอดเลือดดำ
ให้เลือด การให้ Packed red cell หรือ Whole blood
รับประทานธาตุเหล็กขนาดรักษาคือวันละ 200 มิลลิกรัม ยา Ferrous Sulphate
Physiologic Anemia of pregnancy
ขาดสารอาหาร คือ ธาตุเหล็ก, โฟเลต
กลุ่มโรคของเม็ดเลือดแดงแตกได้ง่าย
การเพิ่มของปริมาตรพลาสมามากกว่ามวลของเม็ดเลือดแดง
ระดับความเข้มข้นของฮีโมโกลบินลดลงในไตรมาสแรก และสอง
ไม่จำเป็นต้องรักษา
เสียเลือดจากพยาธิปากขอ
การวินิจฉัยโลหิตจาง
ตรวจนับเม็ดเลือด, ระดับฮีโมโกลบิน, เม็ดเลือดขาว, เกร็ดเลือด และMCV = mean cell volume
microcytic anemia มีขนาดของ MCV มีค่าน้อยกว่า 75 fl
การขาดธาตุเหล็ก, ธาลัสซีเมีย
lead poisoning และ sideroblastic anemia
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
macrocytic anemia มีขนาดของ MCV มีค่ามากกว่า 100 fl
โรคตับ และดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป
ขาดโฟลิค, acquired macrocytic anemia
การตรวจร่างกาย เยื่อบุตาซีด
Thalassemia in pregnancy
ชนิด
α - thalassemia
เกิดจากการลดลงของ α - chain โดยความผิดปกติอยู่ที่ยีนบนโครโมโซมคู่ที่ 16
โฮโมซัยกัสแอลฟ่าธาลัสซีเมีย 1 (homozygous α -thalassemia1) (α -thal 1/ α -thal 1)
hydrops fetalis
รุนแรงมากที่สุด
ีฮีโมโกลบินเอช/ คอนสแตนต์สปริง (hemoglobin H/ Constant Spring) (α -thal1/ Hb ConstantSpring)
ฮีโมโกลบินเอช (hemoglobin H; Hb H (α -thal 1/ α -thal 2)
ฮีโมซัยกัสฮีโมโกลบินคอนสแตนต์สปริง (homozygous hemoglobin Constant Spring) (Hb
Constant Spring/ Hb Constant Spring)
เบต้า- ธาลัสซีเมีย (β – thalassemia )
เกิดจากการลดลงของ β –chain โดยความผิดปกติอยู่ที่ยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 11
ฮโมซัยกัสเบต้าธาลัสซีเมีย (homozygous βo-thalassemia ) (βo-thal/ βo-thal) อาการรุนแรงมาก
เบต้าธาลัสซีเมีย/ ฮีโมโกลบินอี (βo-thalassemia/hemoglobin E) (βo-thal/ Hb E)
โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินอี (homozygous hemoglobin E; HbE/ Hb)
การพยาบาล
ระยะคลอด
ได้รับสารน้ าและอาหารตามแผนการรักษา
ตรวจประเมินสัญญาณชีพ
นอนพักบนเตียงในท่านอนศีรษะสูง
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
ดูแลการบรรเทาความเจ็บปวด
เตรียมช่วยเหลือการคลอด
ระยะตั้งครรภ์
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
รับประทานอาหาร ตับ ผักใบเขียว และอาหารที่มีวิตามินซีสูง
ขาด Folic acid ทานผัก ผลไม้สด รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง งดสูบบุหรี่และสารเสพติด
ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโลหิตจาง
ดูแลในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง
ประเมินเด็กดิ้นของทารกในครรภ์
ให้ธาตุเหล็กเสริมตามปกติ และให้Folic acid
ให้เลือดเพื่อรักษาระดับ Hb ให้อยู่ที่ระดับ ไม่ต่ำกว่า 7-10 g/dl
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อป้องกันการตกเลือด
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนำการรับประทานอาหารที่มี Folic acid และที่มีโปรตีนสูง
breast feeding หลังคลอด
การคัดกรองโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
การตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก (screening)
เน้นการซักประวัติความเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน
ประวัติทางสูติกรรม ความผิดปกติในการคลอดบุตรคนก่อน ประวัติของครอบครัว
ตรวจ Complete blood count: CBC
ฮีโมโกลบินและฮีมาโตคริตต่ำ
ตรวจค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง (red blood cell indices)
OFT (osmotic fragility test)
DCIP (dichlorophenol-indophenol precipitation test)
คัดกรองพาหะฮีโมโกลบิน อี ด้วยวิธี ฮีโมโกลบิน อี สกรีน (Hb E screen)