Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.2 การพยาบาลหญิงตังครรภ์ทีมีภาวะตกเลือดก่อนคลอด (Antepartum Hemorrhage) -…
4.2 การพยาบาลหญิงตังครรภ์ทีมีภาวะตกเลือดก่อนคลอด (Antepartum Hemorrhage)
ภาวะตกเลือดก่อนคลอดระยะแรกของการตั้งครรภ์
เลือดออกทางช่องคลอด ก่อน ๒๐ สัปดาห์
นํ้าหนักทารกน้อยกว่า 500 กรัม
abortion
complete abortion
ชิ้นส่วนการตั้งครรภ์ออกมาหมด ปากมดลูกปิด
missed abortion
ชินส่วนการตั้งครรภ์ค้างในโพรงมดลูก วัน/สัปดาห์ ปากมดลูกปิด
incomplete abortion
ปากมดลูกปิด ปวดท้องน้อย ชิ้นส่วนการตั้งครรภ์บางส่วนออกมา
inevitable abortion
ปากมดลูกปิด ปวดท้องน้อย ทารกไม่มีชีวติ ตังครรภ์ต่อไม่ได้
threatened abortion
ปากมดลูกปิด ปวดท้องน้อย ทารกมีชีวิตอยู่ ตังครรภ์ต่อได้
habitual abortion
แท้งติดต่อกันตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป
septic abortion
การติดเชื้อในโพรงมดลูกทีเป็นผลมาจากการแท้ง
การรักษา/การพยาบาล
แท้งคุกคาม แท้งอาจิณ
ลดการกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก งด PV,PR งดร่วมเพศ งดทำงานหนัก
เลือดหยุดไหลประมาณ 1 สัปดาห์
Bed rest 24-48 ชม. พิจารณาให้ยานอนหลับอย่างอ่อน ระงับปวดปวด morphine หรือ pethidine
ติดตาม U/S ประเมินการเพิ่มขนาดของ gestational sac และตรวจ FHS
รักษาเพื่อให้เลือดหยุดไหล ตั้งครรภ์ดำเนินต่อไป
แท้งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แท้งไม่ครบ แท้งครบ และแท้งค้าง
เร่งคลอดโดย Misoprostol plostaplandin A2 เหน็บทางช่องคลอด
ใช้ยาoxytocin ผสมในสารน้ำหยดเข้าหลอดเลือดดำ
รักษาเพื่อยุติการตั้งครรภ์
เจาะเลือดส่งตรวจ เเละเตรียมให้เลือด
ประเมิน สัญญาณชีพ เลือดที่ออก น้ำเข้า-ออก การหดรัดตัวของมดลูก และอาการปวด
ให้ยา ATB
ได้รับสารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ
U/S
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (ectopic pregnancy)
อาการปล่อยเจ็บ (rebound tenderness)
หน้าท้องโป่งตึง มดลูกโตเล็กน้อยและนุ่ม
เจ็บเมื่อโยกปากมดลูก (cervical notion tenderness)
พบชิ้นส่วนของเยื่อบุโพรงมดลูกหลุดมาอยู่ในช่องคลอด
กดเจ็บบริเวณอุ้งเชิงกราน หรือกดเจ็บบริเวณหน้าท้อง
ไข้ตํ่าๆ
กดเจ็บบริเวณปีกมดลูก (adnexal tenderness)
การรักษา/การพยาบาล
สังเกตปริมาณเลือดที่ออก
เจาะเลือดส่งตรวจ โดยเฉพาะ CBC
พักผ่อนบนเตียง bed rest
ให้คำปรึกษา วางแผนครอบครัว
สินสุดการตังครรภ์ทันที C/S
ป้องกันแก้ปัญหาภาวะ shock
ให้เลือดทดแทน
ให้้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Observe v/s ทุก 15 นาที
การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก (molar pregnancy หรือ hydatidiform mole)
เม็ดโมลหลุดออกมาทางช่องคลอด
ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
ครรภ์เป็นพิษ /คอพอกเป็นพิษ
แพ้ท้องรุนแรง จาก HCG สูง
U/S พบ snow stom หรือ ถุงนํ้ารังไข่
การรักษา/การพยาบาล
พักผ่อนบนเตียง bed rest
สังเกตปริมาณเลือดที่ออก
สินสุดการตังครรภ์ทันที ขูดมดลูก ร่วมกับการให้ oxytocin
เจาะเลือดส่งตรวจ โดยเฉพาะ CBC และฮอร์โมน HCG
ป้องกันแก้ปัญหาภาวะ shock
ให้้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้เลือดทดแทน
Observe v/s ทุก 15 นาที
ภาวะตกเลือดก่อนคลอดระยะหลังของการตั้งครรภ์
การตกเลือดก่อนคลอด ระยะหลัง
เลือดออกทางช่องคลอด
๒๐ สัปดาห์ ขึ้นไป
นํ้าหนักทารกเกิน ๑,๐๐๐ กรัม
ผลกระทบ
มารดา
การคลอดก่อนกำหนด
อุบัติการณ์การผ่าตัดคลอด
เสียชีวติจากการตกเลือด
การตกเลือดหลังคลอด
ทารก
เสียชีวิตในครรภ์สูง
Fetal distress
Birth aphyxia
รกเกาะต่ำ (placenta previa)
ไม่มีอาการเจ็บท้อง
คลาํพบทารกผ่านทางหน้าท้อง
รกลอกตัวก่อนกาํหนด (abruption placentae)
มีอาการปวดท้องร่วมด้วย
การเสียเลือดอาจไม่สัมพนัธ์กับเลือดทีออก
คลาํไม่พบทารกผ่านทางหน้าท้อง
มดลูกแตก (Uterine Rupture)
Tetanic contraction
ปวดท้องน้อยบริเวณเหนือหัวหน่าวอย่างรุนแรง จนกระสับกระส่าย
กดเจ็บบริเวณเหนือหัวหน่าว (suprapubic tenderness)
มดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา (tetanic contraction)
พบ Bandl's ring (pathological retraction ring )
Uterine Rupture
ปวดท้องน้อยทุเลาลง หรือไม่ปวดเลย
บางรายพบมีเลือดออกทางช่องคลอด
ช็อคหรือไม่ ขึนอยู่กับพยาธิสภาพของรอยแตก
คลาํส่วนของทารกได้ชัดเจนมากขึน และอาจคลําได้มดลูกอยู่ข้าง ๆ ทารก
เสียงหัวใจจะเปลียนแปลงหรือหายไปขึนอยู่กับพยาธิสภาพทีมดลูก
การแตกของ Vasa Previa
หลังถุงนําครําแตกแล้ว
มีเลือดออกทางช่องคลอด
Fetal distress
ก่อนถุงนําครําแตก
ตรวจภายในคลำพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะกับเสีนงหัวในทารก
ตรวจถุงน้ำคร่ำเห็นเส้นเลือดทอดบนเยื่อถุงน้ำคร่ำชัดเจน
u/s เห็นเส้นเลือดทอดอยู่ต่ำกว่าส่วนนำ
เสียงหัวใจของทารกเปลี่ยนแปลง
การรักษา/การพยาบาล
ปริมาณเลือดทีออก
FHS ที่เปลี่ยนแปลง
อายุครรภ์
อายุครรภ์ครบกําหนด ปริมาณเลือดทอีอกน้อย/ออกแล้วหยุด FHS ปกติ
มดลูกแตก
C/S
ไม่คํานึงถึงอายครรภ์ สินสุดการตังครรภ์ทันที
รกลอกตัวก่อนกำหนด
สามารถเร่งคลอดด้วย oxytocin คลอดทางช่องคลอดได้
ทารกในครรภ์ไม่มีม fetal distress
มารดาไม่มี ภาวะ shock
สิ้นสุดการตั้งครรภ์
C/S
ดูแลพักผ่อนบนเตียง bed rest ท่านอนตะแคงเพื่อลดการกดเส้นเลือด inferior vena cava
งดการตรวจภายในหรือการตรวจทางทวารหนัก
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาทีสังเกตอาการช็อก
สังเกตปริมาณเลือดที่ออกโดยการคาดคะเนจากเลือดที่ชุมผ้าอนามัย
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที
อายุครรภ์ยังไม่ครบกําหนด
-FHS ปกติ
-ปริมาณเลือดทอีอกน้อย/ออกแล้วหยุด
รักษาแบบประคับประคอง
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาทีสังเกตอาการช็อก
งดการตรวจภายในหรือการตรวจทางทวารหนัก
ทำ NST ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที
สังเกตปริมาณเลือดที่ออก
ดูแลพักผ่อนบนเตียง bed rest ท่านอนตะแคงเพื่อลดการกดเส้นเลือด inferior vena cava
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยเฉพาะค่า CBC
อาการดีขึ้น คาํแนะนําปฏิบัติตัวทีบ้าน
ใส่ผ้าอนามัยสังเกตเลือดออกถ้ามีเลือดออกควรมาโรงพยาบาลทันที
นับและสังเกตลูกดิ้นผิดปกติมาโรงพยาบาลทันที
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ งดชา กาแฟ แอลกอฮอล์ งดสูบบุหรี่
นอนพักผ่อนอย่างเพียงพอในท่านอนตะแคงซ้าย
งดการร่วมเพศ
ไม่คํานึงอายุครรภ์ ปริมาณเลือดมาก FHS ผิดปกติ
สิ้นสุดการตั้งครรภ์ทันที C/S
อาการแสดงและv/s เปลี่ยนแปลง
ป้องกันแก้ปัญหาภาวะ shock
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Observe v/s ทุก 15 นาที
ดูแลให้เลือดทดแทน
ป้องกันแก้ปัญหาภาวะ fetal distress
ดูแลทำ NST
Observe FHS ทุก 15 นาที
ดูแลให้ oxygen mask with bag 10 LPM
ดูแลนอนตะแคงซ้าย
ระยะหลังคลอด
ด้านมารดา
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้เลือดทดแทน
Observe v/s ทุก 15 นาที
แนะนำคลึงมดลูกทุก 15 - 30 นาที
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก oxytocin
ป้องกันการตกเลือด
ด้านทารก
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ
ด้านจิตใจ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคและการรักษา
เปิดให้ระบายความรู้สึก
เปิดโอกาสให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
ให้คำแนะนำการวางแผนครอบครัวและให้ตัดสินใจด้วยตนเอง
อยู่เป็นเพื่อนให้กำลังใจ