Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
ภาวะน้ำคร่ำมากผิดปกติหรือครรภ์แฝดน้ำ
(Polyhydramnios)
มีจำนวนน้ำคร่ำมากผิดปกติ เกินเปอร์เซนไตล์ที่ 95
AFI เกิน 24-25 ซม.
วัดปริมาตรได้โดยตรงจะถือที่มากกว่า 2,000 มล.
สาเหตุ
เนื้องอกของรก chorioangioma
มารดาเป็นเบาหวาน
ความแปรปรวนของครรภ์ปกติ
ความพิการของทารก
ปัญหาในการกลืนน ้าคร่ำ
ทารกไม่มีกะโหลก (anencephaly)
เนื้องอกที่หน้า(epinagthus)
ปากแหว่งเพดานโหว่ (cleft lip / palate)
อาการและอาการแสดง
คลำส่วนของทารกทางหน้าท้องได้ไม่ชัดเจน
ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ชัดเจน
คลำมดลูกทางหน้าท้องได้ขนาดโต
ตรวจได้ลักษณะเหมือนเป็นคลื่นน้ำทางหน้าท้อง
มีอาการแน่นอึดอัด หายใจลำบาก
การวินิจฉัย
ประวัติ
การโตเร็วของมดลูก
ตรวจร่างกาย
ขนาดมดลูกใหญ่กว่าอายุครรภ์
คลำส่วนของทารกในครรภ์ได้ยาก
อัลตราซาวด์
การวัดแอ่งที่ใหญ่ที่สุด (SDP) และ AFI
การรักษา
การดูดน้ำคร่ำออก (amnioreduction)
การรักษาด้วยยา (Indomethacin)
แนวทางการดูแล
อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์
amnioreduction
indomethacin
อายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์
ห้เจาะน ้าคร่ำเพื่อบรรเทาอาการได้
ไม่แนะนำให้ indomethaciin
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
(Oligohydramnios)
AFI ≤ 5 เซนติเมตร
สาเหตุ
พบร่วมกับความผิดปกติของทารกในครรภ์ชนิดรุนแรง
ภาวะ pulmonary hypoplasia
ทารกพิการโดยกำเนิด
ภาวะเบาจืด (diabetes insipidus) ของมารดา
รกเสื่อมสภาพ
การรั่วของถุงน ้าคร่ำเป็นเวลานาน ๆ
ทารกมีความผิดปกติของโครโมโซม
มีน้ำคร่ำน้อยกว่า 500 มล.
การวินิจฉัยจากประวัติและตรวจร่างกาย
การวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
วัดดัชนีน ้าคร่ำ (Amniotic fluid index, AFI)
การรักษา
ความพิการรุนแรงมักจะแนะนำให้เลือกยุติการตั้งครรภ์
ภาวะทารกโตช้าในครรภ์มักจะเน้นการตรวจสุขภาพทารก
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
(Fetal Growth Restriction or Intrauterine growth restriction)
การจำแนก
Symmetrical IUGR
เจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะ มักเกิดตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์
Asymmetrical IUGR
ทารกมีขนาดเล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะที่ปกติ
Combined type
เจริญเติบโตช้าแบบผสมผสาน
การวินิจฉัย
ตรวจโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
ท ำทุก 3-4สัปดาห์ ตรวจด ู AC,HC
วัด AC ได้ค่าน้อยกว่า -/2SD ของค่า AC ที่อายุครรภ์นั้นๆ
ตรวจหา Fetal structural anomalies การวัดปริมาณน้ำคร่ำ
(Amniotic fluid volume)
ภาวะ IUGR มักพบเรื่อง oligohydramnios
ตรวจร่างกาย (Physical examination)
วัด fundal heightระหว่าง GA 24-38 weeks
วินิจฉัยหลังคลอด
เทียบน้ำหนักคลอดกับค่ามาตรฐานแต่ละอายุครรภ์ ใช้ค่าน้ำหนักที่ต่ำกว่า 10 เปอร์เซ็นไทล์
แนวทางการดูแลรักษา
Screening for risk factors
ซักประวัติ เพื่อดูการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ผ่านมา
ตรวจวัด fundal height ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ขึ้นไป
ตรวจติดตาม ultrasonography
ดูปริมาณน้ำคร่ำ
surveillance เช่น NST หรือ BPP
ตั้งครรภ์เกินกำหนด Postterm pregnancy
มีอายุครรภ์ 42 สัปดาห์เต็ม (294 วัน)
สาเหตุ
อาจเกิดจากความผิดปกติของทารกในครรภ์ เช่น Anencephaly
รกเสื่อมสภาพ (Placental dysfunction)
Fetal distressและน้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Fetal-Growth restriction)
การดูแลรักษา
ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ก่อนคลอด
Biophysical profile
Contraction stress test
Non stress test
วัดปริมาณน้ำคร่ำด้วยการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
การชักนำการคลอด
ความพร้อมของปากมดลูก (Cervical ripening) โดยใช้ Bishop
ระดับของส่วนนำ (Station of vertex
ปากมดลูกพร้อม
เซาะแยกถุงน ้าคร่ำ Sweeping or stripping of the membrane)
การใช้ยา Prostaglandin
E2 : PGE2
E1 : PGE1
การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
แนวทางการดูแลหรือการให้การพยาบาล
ประเมินซักประวัติ การตรวจร่างกายและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินความรู้พื้นฐาน ด้านความรู้และทัศนคติ
ประเมินพันธกิจของการตั้งครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
ประเมินระดับสนับสนุนทางสังคมของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
หญิงตั้งครรภ์อายุมาก
(elderly pregnancy)
ตั้งครรภ์ที่มีอายุครบ 35 ปี ก่อนถึงวันกำหนดคลอด
การพยาบาล
ประเมินพัฒนกิจของการตั้งครรภ์
ประเมินซักประวัติ การตรวจร่างกายและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินความรู้พื้นฐาน
ประเมินระบบสนับสนุนทางสังคม
การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ผลกระทบ
มารดารู้สึกเครียด วิตกกังวล ท้อแท้ รู้สึกผิด
เสียชีวิตจากการทำแท้ง
ติดเชื้อ ตกเลือดจากการเเท้ง
มีปัญหาสัมพันธภาพระหว่างมารดาและบุตร
อาจทำให้ครอบครัวเกิดความเครียด
เกิดปัญหาการทอดทิ้งบุตร
หญิงตั้งครรภ์มีปัญหารุนเเรงในครอบครัว
ผลกระทบ
เศร้า เครียด วิตกกังวล มีคุณค่าในตนเองลดลง
สูบบุหรี่ ใช้สารเสพติด
เกิดการบาดเจ็บจากการกระทำความรุนแรง
ปัญหาเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส
เกิดการแท้ง คลอดก่อนกำหนด
มารดาที่ใช้สารเสพติดในระหว่างการตั้งครรภ์
สุราจะทำให้เกิดกลุ่มที่เรียกว่า Fetal alcohol syndrome (FAS)
ทารกเจริญเติบโตช้าในขณะอยู่ในครรภ์
การสูบบุหรี่
ทารกในครรภ์ไม่เจริญเติบโต IUGR
คลอดก่อนกำหนด
แท้ง
อัตราการเสียชีวิตของทารก sudden infant death syndrome (SIDS)
มารดาที่ดื่มกาแฟมากกว่า 7-8 แก้วต่อวัน
ทารกแรกเกิดน ้าหนักน้อยกว่าปกติ
แท้ง การคลอดก่อนกำหนด และการตายคลอดเพิ่มขึ้น