Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญกาสุขภาพในระยะหลังคลอด -…
การใช้กระบวนการพยาาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญกาสุขภาพในระยะหลังคลอด
PPH
ความหมาย
การเสียเลือดภายหลังทารกคลอดโดยวิธีผ่าตัดคลอด มากกว่า 1000 CC.
การเปลี่ยนแปลงของ Hct. มากกว่าร้อยละ 10 ระหว่างแรกรับและหลังคลอด
การเสียเลือดภายหลังทารกคลอดทางช่องคลอดมากกว่า 500 CC.
การเสียเลือดมากกว่าร้อยละ 1 ของน้าหนักตัวของมารดาหลังคลอด
ประเภท
การตกเลือดระยะหลัง (Late PPH) พบได้บ่อยวันที่ 7 – 14 หลังคลอด จนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
การตกเลือดระยะแรก (Early PPH) ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด พบประมาณร้อยละ 5 - 8
สาเหตุ
Lacerations of the birth canal(Trauma)
การทำสูติศาสตร์หัตถการ
Precipitate labour
Fetal macrosomia
การตัดฝีเย็บไม่ถูกวิธี
ความผิดปกติของมดลูก
การได้รับ Epidural anesthesia
Retained placental tissue(Tissue)
Retained placental
รกค้าง
ลักษณะการเกาะของรก
Retained placental tissue
สาเหตุของการตกเลือดระยะหลังประมาณวันที่6-10หลังคลอด
Abnormal of placenta
ขนาด
รูปร่าง
การทำคลอดรกที่ผิดวิธี
อาจเป็นเศษรก / Cotyledon แต่เป็นเยื่อถุงน้าคร่าและมีการอักเสบร่วมด้วย
Uterine atony(Tone)
พบได้ประมาณ 1 ใน 20 ของการคลอด
สาเหตุ
กล้ามเนื้ออ่อนล้า
คลอดเร็ว
คลอดยาวนาน
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
มีก้อนเนื้อในมดลูก
การยืดขยายของมดลูกมากเกินไป
น้ำคร่ำมากเกิน 2000cc.
การตั้งครรภ์หลายครั้ง
ทารกตัวโต
เยื่อบุบมดลูกอักเสบ
Acquired coagulopathies(Thrombin)
การติดเชื้อที่รุนแรง Disseminated intravascular coagulopathy (DIC)
Uterine rupture
อุบัติการณ์เกิด 1:2,000
Obstructed labour Multiple gestation Fetal macrosomia
การแยกของแผลที่ผ่าตัดมดลูก
Placenta bed bleeding
Placenta adherens
Placenta increta
Placenta accreta
Placenta percreta ร้อยละ 5
ตำแหน่งที่รกเกาะ
รกเกาะต่ำ
ขนาดของรก
Uterine inversion
อุบัติการณ์เกิด 1:2,500
การทำคลอดรกที่ผิดวิธี
ขนาดของทารก
การเกาะของรก
การใช้ยาช่วยคลอด
อาการและอาการแสดง
Hypovolemic shock in severe case
Vaginal bleeding
เลือดคั่งที่ Broad ligament Uterine contraction Laceration (เส้นเลือดฝอย / หลอดเลือดแดง) Uterine inversion Retained placenta ติดเชื้อในโพรงมดลูก
ผลของการตกเลือดหลังคลอด
Puerperal Infection Hazards of therapy Post birth anterior pituitary necrosis or Sheehan syndrome Hysterectomy
การฉีกขาดใกล้ท่อปัสสาวะ ทาให้ท่อปัสสาวะบวม ปัสสาวะลาบาก การสร้างน้านมลดลง Anemia ระยะเวลาการพักฟื้นนานกว่าปกติ Death
การตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
เศษรกค้าง
หลังคลอด1-2สัปดาห์
การอักเสบของยุบุบโพงมดลูกหลังคลอด24ชม.
การติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
การอักเสบของปากมดลูก
การใช้ยา
แผลของดลูก
เนื้องอก
อาการ :
เกิดระหว่างวันที่ 5 – 28 หลังคลอด
พบบ่อยมักเกิดภายใน 3 สัปดาห์หลังคลอด
การรักษา:
กรณีเลือดออกจากแผล กรณีการติดเชื้อในโพรงมดลูก กรณีเลือดออกจากโพรงมดลูก
Subinvolution Of Uterus
สาเหตุ
ตั้งครรภ์แฝดหรือตั้งครรภ์แฝดน้าซึ่งทาให้กล้ามเนื้อมดลูกมีการยืดขยายมาก ภาวะอ่อนเพลียจากระยะคลอดยาวนานหรือจากการคลอดยาก เคยตั้งครรภ์มากกว่า 6 ครั้งขึ้นไป การได้รับยาระงับความรู้สึกในขณะคลอดมีสิ่งขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก เช่น เศษรกค้างกระเพาะปัสสาวะเต็ม Early ambulation ช้ากว่าปกติ การผ่าตัดคลอดเอาทารกออกทางหน้าท้อง ทารกไม่ได้ดูดนมแม่ การติดเชื้อของมดลูก มดลูกคว่าหน้ามากหรือคว่าหลังมาก
การป้องกัน
ภายหลังคลอดรก ตรวจรกอย่างละเอียด ส่งเสริมการไหลของน้าคาวปลา ส่งเสริม Breast feeding
อาการ
น้าคาวปลาออกนานหรือปริมาณมากกว่าปกติ น้าคาวปลาเป็นสีแดง (persistence red lochia) มีกลิ่นเหม็น (foul lochia) มดลูกอ่อนนุ่มและใหญ่กว่าปกติ ระดับยอดมดลูกไม่ลดลงอาจกดเจ็บ อาการปวดมดลูก อุณหภูมิสูงและอาจเกิดการตกเลือดระยะหลัง
Sheehan's Syndrome
สาเหตุ
ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) เกิดการขาดเลือดมาเลี้ยงอย่างเฉียบพลันทาให้เสียการทางานของต่อมใต้สมองโดยเฉพาะที่ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
Postpartum hypopituitarism หรือ Postpartum pituitary insufficiency หรือ Postpartum pituitary gland necrosis
ปริมาณเลือดที่เสียจะมากจนผู้ป่วยมีภาวะช็อก ความดันโลหิตต่ามาก ทาให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายรวมทั้งที่สมอง (รวมถึงต่อมใต้สมอง) ไม่เพียงพอ
ในช่วงตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอดใหม่ๆ ต่อมใต้สมองจะมีขนาดใหญ่ขึ้นจึงทาให้มีความเสี่ยงในการขาดเลือดไปเลี้ยงได้ง่ายกว่าช่วงที่ไม่ตั้งครรภ์
การรักษา
การรักษาด้วยฮอร์โมน โดยการให้ฮอร์โมนไทรอยด์ (เช่น ยาสกัดไทรอยด์ หรือเอลทร็อกซิน) และ ไฮโดรคอร์ติโซน ต้องกินยาไปจนตลอดชีวิต ในรายที่ยังต้องการมีบุตร อาจต้องฉีดฮอร์โมนกระตุ้นให้รังไข่ทางาน หากอาการไม่รุนแรงหรือการทางานของต่อมใต้สมองส่วนหน้าเสียเพียงบางส่วน บางส่วนยังทางานได้ดี ก็สามารถตั้งครรภ์ได้ตามปกติ และหากสามารถตั้งครรภ์ได้ก็มีความเสี่ยงจะเกิดอาการได้อีกหากมีการเสียเลือดมาก หากเกิดอาการอย่างรุนแรงในครรภ์แรกแล้วมักไม่สามารถตั้งครรภ์ในครั้งต่อไปได้
อาการ
อ่อนเพลีย เฉื่อยเนือย วิงเวียน ทางานเชื่องช้า คิดช้า ขี้หนาว หน้าตาดูแก่เกินวัย ผิวหนังหยาบแห้ง ประจาเดือนไม่มา เป็นหมัน อาจมีอาการเบื่ออาหาร ซูบผอมซีด ความดันเลือดต่า ขนรักแร้ ขนในบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ร่วง
เลือดออกไม่หยุดหลังตัดมดลูก
ทางเลือก: Arterial embolization / Recombinant Factor VII
Abdominal packing / Umbrella packing
Postpartum genital Hematoma
สาเหตุ
การคลอดอย่างรวดเร็ว การทาสูติศาสตร์หัตถการ ส่วนนาของทารกกดช่องทางคลอดนานกว่าปกติ การเย็บซ่อมแซม ประวัติการอักเสบของหลอดเลือดดา ภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์
อาการ
สีของผิวหนัง คลาบริเวณที่เป็น อาการปวด ลักษณะจะมีแรงกดอย่างรุนแรงใน 12 ชั่วโมงแรก อาการของการมีเลือดออก เลือดคั่งบริเวณ Board ligament ปัสสาวะลาบาก
การป้องกัน
ทาคลอดอย่างถูกวิธี การซ่อมแซมแผลฝีเย็บ เฝ้าระวังอาการในรายที่มีความเสี่ยงสูง
การรักษา
กรณีก้อนเลือดมีขนาดเล็ก ปล่อยให้หายเอง ประคบเย็น ประคบร้อน ยาแก้ปวดกรณีก้อนเลือดมีขนาดใหญ่ ผ่าตัดและผูกบริเวณที่มีเลือดออก Vaginal packing + Antibiotic ointment Retained Foley cath OFF Vaginal packing + Foley cath