Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลมารดาที่มีปญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด, นางสาวปรีดานันท์ อินทรา เลขที่…
การดูแลมารดาที่มีปญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
Postpartum psychosocial
Postpartum depression
ภาวะจิตใจหม่นหมอง หดหู่ อาการเริ่ม คือ นอนไม่หลับ
เริ่ม เป็นวันที่ 3 ถึง 1 ปีหลังคลอด
อาการ
Depressed mood
Anhedonia
ไม่มีพลังงาน ไม่มีแรง
Guilty rumination
Postpartum psychosis
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
ลักษณะเฉพาะตัวของมารดา
อาการ
Restlessness
Irritability
Insomnia
Postpartum blues
อารมณ์เศร้าหลังคลอด
วันที่ 3 – 4 หลังคลอด
Four day blues
อาการ
ร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล
อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
ไม่อยากรับประทานอาหาร
หายเองใน 2 – 3 wks.หลังคลอด
Mastitis & Breast abscess
ความหมาย
Mastitis : ท่อน้ำนมอุดตันหรือเต้านมคัดตึงและไม่ได้รับการแก้ไขแล้วเกิดการติดเชื้อขึ้น
Breast abscess:เต้านมอักเสบที่ไม่ได้รับการรักษาหรือเกิดจากหัว นมแตกและติดเชื้อลามเข้าไปในเต้านม
อาการ
T = 38.3 – 40 ˚C
Chill
คัดตึงเต้านม เต้านมร้อนแข็งตึง
กดเจ็บ ตึงบริเวณต่อมใต้รักแร้
การรักษา
ดูแลรักษาความสะอาด
งดให้นมในราย Breast abscess แต่ mastitis ให้ได้
ให้ยาปฏิชวีนะ ประคบเย็น ระบายหนอง
การป้องกัน
การรักษาความสะอาด
การให้ทารกดูดอย่างถูกวิธี
ขนาดของเสื้อชั้นในที่พอดีเมื่อมีน้ำนมเต็มเต้า
Thrombophlebitis
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบของเลือด
การไหลเวียนของหลอดเลือดดําช้ำลง
การเปลี่ยนแปลงของผนังหลอดเลือดดําชั้นในสุด
ประเภท
Deep Venous Thrombophebitis
อาการ
ปวดบริเวณที่เป็นอย่างรุนแรง
ไข้สูง หนาวสั่นบวมกดบุ๋ม
Homan’s sign positive
การรักษา
ยกขาสูง
ประคบร้อน
พักผ่อนบนเตียง
Superficial Venous Thrombophebitis
อาการ
Fever
ปวดและรอ้ นบรเิวณที่เป็น สัมผัสจะรูสึกอุ่น
เห็นรอยแดงตามหลอดเลือดดำกดเจ็บ
การรักษา
ยาแก้ปวด พักผ่อนบนเตียง
พันด้วย Elastic bandage
Urinary Tract Infection
มักเกิด Cystitis & Pyelonephritis
เกิดจากการชอกช้ำของเนื้อเยื่อบรเิวณช่องทางคลอด
มักพบเชื้อ E.Coli
นางสาวปรีดานันท์ อินทรา เลขที่ 37 ชั้นปีที่ 3