Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Ventricular Septal Defect VSD - Coggle Diagram
Ventricular Septal Defect
VSD
พยาธิสภาพ
Type I, outlet หรือ supracrystal VSD มีรูรั่วของผนังกั้นหัวใจห้องล่างใกล้บริเวณ aorta หรือ pulmonary artery (PA)
Type II หรือ perimembranous VSD มีรูรั่วอยู่ใต้ลิ้นหัวใจ aortic เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด ประมาณร้อยละ 80
Type III, inlet VSD หรือ canal VSD มีรูรั่วอยู่ใต้ลิ้นหัวใจ tricuspid ด้านใน
Type IV หรือ muscular VSD มีรูรั่วที่ trabeculae ถ้ามีรูรั่วหลายรู มีชื่อเรียก “Swiss cheess” VSD
อาการ
เด็กที่มีรูรั่วขนาดกลางหรือใหญ่ (moderate or large VSD) จะมีภาวะหัวใจวาย โดยจะมีอาการได้ตั้งแต่อายุ 2-3 เดือน
เหนื่อยง่าย หายใจเร็ว
ดูดนมได้ช้าแต่ละมื้อนานกว่า 20 นาที เลี้ยงไม่โต
ปอดอักเสบ
การวินิจฉัย
2D-echocardiography เพื่อบอกตำแหน่งและขนาดของ VSD
การสวนหัวใจ (cardiac catheterization) ในผู้ป่วยที่มี large VSD หรือ เพื่อประเมินความรุนแรงของภาวะความดันหลอดเลือดแดงในปอดสูง นอกจากนี้การสวนหัวใจยังทำเพื่อการรักษาผ่านสายสวน (cardiac intervention) โดยการใช้อุปกรณ์ปิดรูรั่ว
การตรวจร่างกาย
ใน small VSD จะตรวจพบเพียงเสียงหัวใจที่ผิดปกติ คือ เสียง pansytolic murmur
ตรวจพบอาการแสดงของภาวะหัวใจวาย ซึ่งมี “cardinal signs” คือ หายใจเร็ว หัวใจเต้นเร็ว ตับโตและหัวใจโต
ตรวจหัวใจจะพบหัวใจเต้นแรง (active precordium), ฟังได้เสียง pansystolic murmur และ diastolic rumbling murmur
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก
ใน small VSD จะพบขนาดหัวใจและ pulmonary vascular marking ปกติ ส่วนในกลุ่ม moderate or large VSD จะพบหัวใจโต คือ left ventricular enlargement (LAE) และ left ventricular hypertrophy (LVH) ร่วมกับมี pulmonary vascular marking เพิ่มขึ้นและ PA ขนาดใหญ่ขึ้น
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiography, EKG)
ใน small VSD จะตรวจพบเพียงเสียงหัวใจที่ผิดปกติ คือ เสียง pansytolic murmur โดยไม่พบความผิดปกติอื่น ในกรณี moderate to large VSD จะตรวจพบอาการแสดงของภาวะหัวใจวาย ซึ่งมี “cardinal signs” คือ หายใจเร็ว หัวใจเต้นเร็ว ตับโตและหัวใจโต ตรวจหัวใจจะพบหัวใจเต้นแรง (active precordium), ฟังได้เสียง pansystolic murmur และ diastolic rumbling murmur ซึ่งเกิดจากเลือดปริมาณมากไหลผ่านลิ้นหัวใจ mitral ที่ปกติ ทำให้เกิด relative mitral stenosis (MS) ได้ และถ้าความดันหลอดเลือดแดงในปอดสูง (pulmonary arterial hypertension, PAH) จะได้ยินเสียงการปิดของลิ้นหัวใจ pulmonic (P2) ดังขึ้น
ข้อวินิจฉัยและการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการเนื่องจากพยาธิสภาพของโรค
การพยาบาล
ประเมินภาวะ ทุพโภชนาการเพื่อวางแผนให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารตามความต้องการของร่างกาย
ชั่งน้ำหนักตัววันละครั้งในเวลาเดียวกัน เพื่อประเมินภาวะทุพโภชนาการ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับนม Insatrini (30 kcal) 2 Oz x 6 feeds ตามแผนการรักษา
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ เพื่อประเมินการขาดสารอาหาร
ติดตามภาวะทุพโภชนาการ โดยดูการเปลี่ยนแปลงตามเกณฑ์ต่างๆที่วัดได้ เช่น การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แล้วเทียบกับเกณฑ์น้ำหนักส่วนสูง ตามอายุกราฟการติดตาม