Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพเเละพระราชบัญญัติวิชาชีพพยาบาล, นางสาวภัทราภรณ์…
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพเเละพระราชบัญญัติวิชาชีพพยาบาล
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
มาตรการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
ให้มีข้อกำหนดจริยธรรมเเห่งวิชาชีพ
มีมาตรการลงโทษ ในกรณีที่ละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ ระบุสาระของการดำเนินการสอบสวน การตัดสิน เเละโทษ
ห้ามผู้ไม่มีสิทธิ คือ ไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ข้อยกเว้นผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตเเต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
การช่วยเหลือดูเเลบุคคลอื่นให้พ้นจากความทุกข์ทรมานในเงื่อนไขดังนี้
ไม่ฉีดยาหรือสารใดๆเข้าไปในร่างกาย
ไม่ให้ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
ไม่ได้รับประโยชน์ใดๆตอบเเทน
นักเรียน นักศึกษา ในสถาบันที่สภารับรอง ภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
การกระทำต่อตนเอง
ผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ทำตามกฏเกณฑ์การประกอบวิชาชีพตนเเต่เข้าข่ายการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศของตน สภาจะออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ไม่เกิน 1 ปี
จุดประสงค์
การสงวนวิชาชีพให้กับบุคลในวิชาชีพ
การคุ้มครองผู้รับบริการหรือผู้บริโภค
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพให้บริการอย่างมีมาตรฐาน
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลเเละการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 1 หลักการทั่วไป
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
3.อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
4.สภาส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อได้รับข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสินว่าคดีมีมูล
2.กรรมการสภากล่าวโทษต่อสภาการพยาบาล
5.สภาส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา สอบสวน เมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสิน
1.ผู้เสียหาย กล่าวหาต่อสภาการพยาบาล
6.คณะกรรมการสภาตัดสิน
การพิจารณาสอบสวน กฏหมายให้สิทธิคัดค้านการเเต่งตั้งอนุกรรมการได้ โดยบุคคลต่อไปนี้
ผู้มีเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
คู่สมรส หรือเป็นญาติเกี่ยวข้องกับบุพการี ผู้สืบสันดาน
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
พี่น้องร่วมบิดามารดากับผู้ถูกกล่าวหา กล่าวโทษ
ผู้รู้เห็นเหตุการณ์
การขอขี้นทะเบียนใหม่หลังถูกเพิกถอน
ระยะเวลาต้องพ้น 2 ปี นับตั้งเเต่วันที่สภาการพยาบาลมีตำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต(ไม่ใช่วันที่รับทราบคำสั่ง)
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่ 1 สามารถยื่นขอครั้งที่ 2 ภายหลังครบ 1 ปี นับตั้งเเต่ที่คณะกรรมการสภามีคำสั่งปฏิเสธคำขอครั้งเเรก
สถานที่ที่กฎหมายกำหนด
2.สถานที่มีเหตุผลสมควรเชื่อว่ามีการประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลเเละผดุงครรภ์
3.สถานที่สอบสวนหรือเชื่อว่าทำการสอนวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลเเละการผดุงครรภ์
1.สถานที่ประกอบการที่มีผู้ประกอบวิชาชีพ การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลเเละผดุงครรภ์ปฏิบัติงานอยู่
บทกำหนดโทษ(โทษทางอาญา)
3.ต้องพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้วยเเละต้องส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายใน 15 วัน ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 1,000 บาท (มีเฉพาะโทษปรับอย่างเดียว)
4.การไม่มาให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสาร ต้องโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
2.บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ(พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ ได้โดยการตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ)
5.ผู้ไม่อำนวยความสะดวกเเก่เจ้าพนักงาน ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับโทษทางวิชาชีพ ประกอบด้วย ว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้ เพิกถอน
1.ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน 2 ปี เเละ/หรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท
บทเฉพาะกาลเพิ่มเติม(พระราชบัญญัติวิชาชีพ พ.ศ.2540)
1.ให้กรรมการทุกประเภทตามมพระราชบัญญัติวิชาชีพ พ.ศ.2528 ดำรงอยู่จนครบวาระ
2.ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะเเผนปัจจุบันในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์เเละสาขาการพยาบาลเเละการผดุงครรภ์ หรือใบอนุญาตที่ออกตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ พ.ศ. 2528 มีอายุต่อไปอีก 5 ปี นับตั้งเเต่วันที่กฎหมายบังคับใช้
3.ผู้ที่ไม่เข้าเกณฑ์ตามข้อ 2 เเต่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือประกาศนียบัตรเทียบเท่าอนุปริญญาในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลเเละการผดุงครรภ์จากสถาบันการศึกษาในประเทศไทย ก่อนพระราชบัญญัติวิชาชีพ พ.ศ.2540 บังคับใช้ เมื่อสภาการพยาบาลตรวจสอบหลักสูตรเเละผ่านการสอบความรู้เเล้วมีสิทธิขึ้นทะเบียนเเละรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
4.ยกเลิกค่าธรรมเนียมเก่าเเละใช้อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ท้ายพระราชบัญญัตินี้เเทน
5.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการณ์ตามพระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลเเละการผดุงครรภ์
(ฉบับที่2)พ.ศ.2540 (เกณฑ์สากลของความเป็นวิชาชีพ)
3.สามารถให้บริการเเก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานเเละตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน เเละมีการอบรมในระบบวิชาชีพที่ยาวนานพอสมควร ถึงขั้นอุดมศึกษา
5.มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
1.อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
6.มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ รวมทั้งการผลักดันในเเง่กฎหมายเพื่อคุ้มครองสมาชิกเเละผู้รับบริการ
พระราชบัญญัติวิชาชีพพยาบาล
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ความหมาย
การปฏิบัติหน้าที่ พยาบาลต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน
กระทำดังนี้
การสอน การเเนะนำ การให้คำปรึกษาเเละเเก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
การกระทำต่อร่างกายเเละจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดสภาพเเวดล้อมเพื่อเเก้ไขปัญหาความเจ็บป่วย การบรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค เเละการฟื้นฟูสภาพ
การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้นเเละการให้ภูมิคุ้มกันโรค
การช่วยเหลือเเพทย์กระทำการรักษาโรค
ทั้งนี้ โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์เเละศิลปะการพยาบาลในการประเมินสภาพการวินิจฉัยปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ เเละการประเมินผล
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ความหมาย
การปฏิบัติหน้าที่การผดุงครรภ์ต่อหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด ทารกเเรกเกิด เเละครอบครัว
กระทำดังนี้
2.การกระทำต่อร่างกายเเละจิตใจของหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเเละทารกเเรกเกิด เพื่อป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด เเละระยะหลังคลอด
3.การตรวจ การทำคลอด เเละการวางแผนครอบครัว
4.การช่วยเหลือเเพทย์กระทำการรักษาโรค
1.การสอน การเเนะนำ การให้คำปรึกษาเเละการเเก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
5.อาศัยหลักวิทยาศาสตร์เเละศิลปะการผดุงครรภ์ในการประเมินสภาพการพยาบาล วินิจฉัยปัญหา การวางแผนการปฏิบัติการพยาบาล เเละการประเมินผล
นิยามศัพท์ที่สำคัญ
การพยาบาล
เป็นการกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูเเลเเละการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค เเละการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการช่วยเหลือเเพทย์กระทำการรักษาโรค
การผดุงครรภ์
การประทำเกี่ยวกับการดูเเลเเละการช่วยเหลือหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด เเละทารกเเรกเกิด รวมถึงการตรวจ การทำคลอด การส่งเสริมสุขภาพ เเละการป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดเเละระยะหลังคลอด รวมทั้งการช่วยเหลือเเพทย์กระทำการรักษาโรค
พนักงานเจ้าหน้าที่
ความหมาย
ผู้ซึ่งรัฐมนตรีเเต่งตั้งให้ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
มีอำนาจดังนี้
2.ในการเข้าตรวจค้น พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องเเสดงบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันการเเอบอ้าง
3.ในการตรวจค้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจตามประมวลกฎหมายอาญา โดยให้ผู้ที่ไม่ให้ความสะดวกมีความผิด ได้รับโทษตามที่กำหนด
1.ให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบใบอนุญาต ค้นหรือยึดหลักฐานการกระทำผิดกฎหมายในสถานที่นั้นได้ โดยไม่ต้องขอให้ศาลออกหมายค้นเเละไม่มีความผิดฐานบุกรุกสถานที่นั้น
นิติบุคคลตามกฎหมายเเพ่งเเละพาณิชย์
1.เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย มีสภาพเหมือนบุคคลทั่วไป ยกเว้น สิทธิที่บุคคลจริงจะมีได้ เช่น การจดทะเบียนสมรส
2.นิติบุคคลทำความผิด ผู้เเทนของนิติบุคคลร่วมรับผิดชอบในฐานะตัวการ เเละนิติบุคคลนี้ถูกฟ้องล้มละลายได้
รายได้ของสภาการพยาบาล
ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบำรุง เเละค่าธรรมเนียมต่างๆ
จากการหารายได้ของสภาการพยาบาล โดยใช้เพื่อวัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล เช่น จัดสวัสดิการให้สมาชิก
งบประมาณแผ่นดิน
รายได้จากเงินบริจาค รวมทั้งดอกผลของรายได้ต่างๆ
โรคต้องห้ามตามข้อบังคับของสภาการพยาบาล
2.การติดยาเสพติดให้โทษอย่างรุนเเรง ติดสุราเรื้อรัง
3.โรคที่ระยะปรากฏอาการเป็นที่น่ารังเกียจต่อสังคม หรือเป็นอุปสรรคต่อการประกอบวิชาชีพ เช่น โรคคุดทะราด โรคเอดส์ กามโรค โรคเท้าช้าง โรคเรื้อนในระยะติดต่อ
1.โรคจิต โรคประสาท
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
สำเร็จในประเทศ คนสัญชาติไทยเเละมิใช่สัญชาติไทย
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
สำเร็จในต่างประเทศ
คนสัญชาติไทย
ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
สอบขึ้นทะเบียน
คนมิใช่สัญชาติไทย
ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศ 6 เดือน นับถึงวันสมัครสอบวันสุดท้าย
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
หน้าที่กรรมการบริหารสภาการพยาบาล
นายกสภา
เป็นผู้เเทนสภาในกิจการต่างๆ
เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเลขาธิการสภา
ดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล
เลขาธิการสภา
ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภา
รับผิดชอบในการดูเเลทะเบียนต่างๆ
ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไป
ควบคุมทรัพย์สินของสภา
เป็นเลขาธิการคณะกรรมการ
สภานายกพิเศษ
2.เเต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
3.ออกกฎหมายกระทรวงเเละกำหนดค่าธรรมเนียมต่าง(มาตรา5)
1.รักษาการตามพระราชบัญญัติ(มาตรา5)
4.ให้ความเห็นชอบมติของคณะกรรมการในเรื่อง
2.การกำหนดงบประมาณของสภา
3.การให้สมาชิกพ้นจากสมาชิกภาพ
1.การออกข้อบังคับสภา
4.การวินิจฉันชี้ขาด ขั้นลงโทษผู้ประกอบวิชาชีพ ขั้นพักใช้ เเละเพิกถอนใบอนุญาต
กำหนดให้มีสภาการพยาบาล ฐานะของสภาการพยาบาล(มาตรา6)
1.เป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายเเพ่งเเละพาณิชย์
2.การตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ(พ.ร.บ.) ทำให้ไม่สามารถถูกฟ้องล้มละลายเเละไม่สามารถเลิกกิจการเหหมือนเช่นนิติบุคคลทั่วไป
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการสภา
การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
การพ้นจากตำเเหน่งของกรรมการที่ปรึกษา
การลงมติ
การเข้าเเทนตำเเหน่งของกรรมการสภาที่ว่างลงก่อนครบวาระ
การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
นางสาวภัทราภรณ์ ครโสภา เลขที่14 รุ่น36/2