Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดและหลักการการดูแลมารดาทารก ทีมีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ …
บทที่ 1 แนวคิดและหลักการการดูแลมารดาทารก
ทีมีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
3.บทบาทพยาบาลในการดูแลมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
1.บทบาทผู้ประเมินปัญหาและวางแผนการพยาบาล
1.1 ซักประวัติผู้รับบริการให้ครอบคลุมอาการสําคัญ
1.2 ตรวจร่างกายเพือหาความบกพร่องในส่วนโครงสร้างของร่างกายจากภาวะผิดปกติและภาวะแทรกซ้อน
1.3 บันทึกผลการตรวจร่างกายและซักประวัติ
1.4 วางแผนเพือให้ได้รับการตรวจวินิจฉัยโดยร่วมมือกับแพทย์
1.5 เก็บข้อมูลทีเกียวข้องกับผู้รับบริการเพิมเติม โดยร่วมมือกับทีมดูแลรักษาสุขภาพ
1.6 วางแผนการพยาบาลทีต่อเนืองสาหรับผู้รับบริการทั"งทีโรงพยาบาลและเมือกลับบ้าน
1.7 รายงานและส่งต่อผู้รับบริการตามความเหมาะสม เพือการรักษาพยาบาลทีต่อเนือง
บทบาทผู้ให้การดูแล
2.1
ป8องกันผู้รับบริการและทารกในครรภ์จากอันตรายทาง
ด้านสรีรวิทยาทีอาจเกิดขึ้น
จากผลของภาวะผิดปกติของการตั้งครรภ์
2.2 ดูแลชวยเหลือผู้รับบริการและครอบครัวให้ปรับตัวต่อภาวะกดดันต่างๆ
ทีเกิดขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์
2.2.1 กระตุ้นให้แสดงออกถึงความรู้สึกและให้ความสนใจ
2.2.2 กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการดูแลรักษาพยาบาล
2.2.3 ให้ความรู้แก่ครอบครัวหรือสมาชิกของครอบครัว ิ
รวมทั้งให้กาลังใจแก่ผู้รับบริการและครอบครัว
บทบาทผู้สอน
3.2 วางแผนการสอน
3.3 ให้การสอนเป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคลตามความเหมาะสม
3.1 ประเมินความต้องการเรียนรู้ของผู้รับบริการและครอบครัว
3.4 ประเมินผลการสอน
บทบาทผู้ให้คําปรึกษา
มารดาบางรายอาจมีปญหาเกียวกับภาวะสุขภาพ
ซึงมีผลกระทบต่ออารมณ์ จิต สังคมพยาบาลจะต้องแสดงบทบาทผู้ให้คําปรึกษาเพื่อชวยให้ผู้รับบริการใช้กระบวนการแก้ปัญหาเพือทีจะรับรู้และจัดการกับภาวะเครียดสามารถปรับตัวให้เกิดสัมพันธภาพทีดีระหว่างผู้รับบริการ ครอบครัว และทีมสุขภาพ
บทบาทผู้ประสานงาน
พยาบาลยังต้องมีบทบาทผู้ประสานงานกับทีม
สุขภาพเพื่อให้การรักษาพยาบาลเป็นไปตามแผนและ
การบริหารจัดการให้เกิดความเรียบร้อย
บทบาทผู้เปลี่ยนแปลง
พยาบาลจะต้องมีความริเริมสร้างสรรค์มีความมานะพยายาม รู้จักกาลเทศะ
มีทักษะในการสร้างสัมพันธภาพเพือปรับเปลียนพฤติกรรมของผู้รับบริการให้มีคุณภาพ
บทบาทด้านบริหารจัดการ
7.1 มอบหมายงานแก่บุคลากรตามความสามารถ
ให้ผู้รับบริการได้รับการแก้ปญหาและตอบสนองความต้องการ
7.2
การวางแผนและร่วมมือในการให้การศึกษาอบรมแก่บุคลากรในหน่วยงานที่ปฏิบัติเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการดูแลที่มี
ประสิทธิภาพและปลอดภัย
7.3 ให้ผู้รับบริการได้รับการรักษาครบถ้วนตามแผน
รายงานอาการเปลียนแปลงต่างๆ ก่อนและภายหลังการรักษาพยาบาล
7.4 นิเทศและประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลที่ให้แก่ผู้รับบริการ
7.5 ร่วมให้การพยาบาลแก่ผู้รับบริการ
เพื่อสังเกตให้ความอบอุ่นใจ
7.6 ส่งเสริมให้มีการฟื้นฟูสภาพอันเนืองมาจากภาวะผิดปกติ นิเทศ และประเมินผลการสอน
7.7 ตรวจเยี่ยมเพื่อประเมินสภาพร่างกายและจิตใจ
ความก้าวหน้าของการรักษาพยาบาลและสิงแวดล้อมต่างๆรอบตัวผู้รับบริการ
บทบาทผู้วิจัย
8.1 ให้การพยาบาลอย่างมีระบบและเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับวิธีการพยาบาลใหม่ๆ ที่ทดลองปฏิบัติกับผู้รับบริการ
8.2เขียนคําสั่งการพยาบาลเป็นหลักฐานและเก็บไว้ใชประโยชน์เป็นข้อมูลเพื่อการวิจัย
8.3 กระทําหรือร่วมมือในการทาวิจัยทางคลินิก
8.4 ศึกษางานวิจัยต่างๆ
และนํามาใชประกอบในการกําหนดมาตรฐานการพยาบาลพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
8.5 นำผลการวิจัยมาใชปรับปรุงงาน
1.มโนทัศน์การดูแลมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
ความผิดปกติที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ หมายถึง
โรคหรืออาการนั้นๆจะทําให้การตั้งครรภ์เปลี่ยนแปลงไปจากปกติ
1.1 ผลต่อทารก ทําให้ทารกตายในครรภ์
ตายคลอดหรือมีน้าหนักผิดปกติและทารกมีอันตรายจากการคลอด
1.2 ผลต่อการตั้งครรภ์ ทําให้เกิดการแท้งบุตร
การคลอดก่อนกําหนด
1.3 ผลต่อการคลอดและหลังคลอด
ทําให้ต้องใชหัตถการ เช่น การชวยคลอดโดยใช้คีม
(Forceps extraction) การใชเครื่องดูดสูญญากาศ
(Vacuum extraction) การผ่าคลอดทางหน้าท้อง
(Cesarean section)
ภาวะตกเลือดในระยะคลอดและหลังคลอด
และภาวะการติดเชื้อหลังคลอด
การตั้งครรภ์ที่มีผลต่อภาวะผิดปกติ
การเปลี่ยนแปลงในระหว่างการตั้งครรภ์ที่มีผลทําให้เกิดภาวะผิดปกติได้ง่ายหรือรุนแรงขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะ
การเพิมขึ้น
ของฮอร์โมนโปรเจคเตอโรนทําให้ท่อไตขยายตัวขึ้น
และมีการบีบตัวลดลงทําให้ปัสสาวะค้างอยู่ใน
ท่อไตนานกว่าปกติ
มดลูกที่โตขึ้นจะกดท่อไตบริเวณขอบเชงกรานและถูกเบียดกับลําไส้ใหญ่ทําให้ปัสสาวะไหลไม่สะดวกจึงทําให้มีโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะได้ง่าย
การเปลี่ยนแปลงของโลหิต
การเพิมขึ้นของปริมาณเลือดโดยมีการสร้างและเพิมขึ้นของปริมาณ
พลาสม่ามากกว่าเม็ดเลือดแดง จึงทําให้ระดับความเข้มข้นของเลือดลดลง
หากหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางอยู่เดิมจะทําให้เกิดภาวะซีดเพิมมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อ
หากต่อมทํางานมากกว่าปกติ
จะเป็นผลทําให้มีการหลั่งฮอร์โมนผิดปกติมีผลกระทบต่อกระบวนการเผาผลาญและปฏิกิริยาเคมีในเซลล์และกระบวนการเจริบเติบโตของร่างกาย ความผิดปกติของกระบวนการเผาผลาญ
การเปลี่ยนแปลงของระบบหมุนเวียนโลหิตและหัวใจ
ระดับของพลาสม่ามีปริมาณเพิมมากกว่าเม็ดเลือดแดง
ทําให้หญิงตั้งครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะโลหิตจางมีผลทําให้มีการนําออกซิเจนภายในเลือดได้น้อยกว่าปกติ
ทาให้หญิงตั้งครรภ์อ่อนเพลีย ติดเชื้อได้ง่าย
การเปลี่่ยนแปลงของระบบทางเดินหายใจ
ผลจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนที่เพิมขึ้น
ทําให้หญิงตั้งครรภ์มีการหายใจตื้นและรู้สึกลําบากในการหายใจส่วนใหญ่อาการนี้มักเกิดเมื่ออายุครรภ์ได้ 30 สัปดาห์
หากหญิงตั้งครรภ์มีปัญหาเรืองภูมิแพ้ หอบหืด
2.กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดา
ทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
กระบวนการพยาบาล
1.การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินภาวะสุขภาพ (assessment)
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.1.1 การสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทั้งห้า
1.1.2 การสัมภาษณ์/การซักประวัติ
1.1.3 การตรวจร่างกาย ข้อมูลที่ได้จากการตรวจร่างกาย
จะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างหน้าท
1.1.4 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น การตรวจเลือด
เพื่อดูความผิดปกติของเม็ดเลือดความผิดปกติของอิเล็คโทรลัยท์
1.2 การจัดระบบข้อมูล
แบบแผนที่1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนที่ 2 อาหารและการเผาผลาญสารอาหาร
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกกําลังกาย
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
แบบแผนที่ 7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
แบบแผนที่ 10 การปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
แบบแผนที่ 11 คุณค่าและความเชื่อ
1.3 การวิเคราะห์และการแปลผล
2.การวินิจฉัยการพยาบาล (nursing diagnosis)
ประกอบด้วยส่วนสําคัญ 3 ส่วน
ข้อมูลสนับสนุน ซึ่งได้แก่ อาการและอาการแสดงต่างๆ เช่น
สัญญาณชีพลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
สาเหตุของปัญหา ซึ่งมีสาเหตุเดียวหรือหลายสาเหตุประกอบกัน ได้แก่
สาเหตุด้านจิตใจ ด้านสิงแวดล้อม และด้านร่างกาย
ปัญหา หมายถึง
ปัญหาสุขภาพหรือภาวะไม่สมดุลของร่างกายในปัจจุบันหรือปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
3.การวางแผนการพยาบาล (planning)
3.1 การจัดลําดับข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
3.2 การกําหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์การพยาบาล
3.3 การกําหนดกิจกรรมการพยาบาล
3.4 การกําหนดเกณฑ์การประเมินผล
4.การปฏิบัติการพยาบาล (implementation)
4.1 การตรวจสอบแผนการพยาบาล ซึ่งประกอบด้วย 3 กิจกรรม
4.1.1 การประเมินภาวะสุขภาพซ้ำ
4.1.2 การทบทวนและปรับแผนการพยาบาล
4.1.3 การระบุสิ่งอํานวยความสะดวก
4.2 การปฏิบัติการพยาบาล
4.2.1 ทักษะทางสติปัญญา
4.2.2 ทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์
4.2.3 เทคนิคการพยาบาล
4.3 การบันทึกการพยาบาล
5.การประเมินผลการพยาบาล (evaluation)
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการพยาบาลโดยนํามาเป็นพื้น
ฐานในการตัดสินใจและประเมินคุณภาพการปฏิบัติการพยาบา