Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกทีได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ,…
การเตรียมและการช่วยเหลือมารดาและทารกทีได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Electronic Fetal monitoring
Oxytocin challenge test (OCT
การแปลผล
Negative
base line variability ปกติ
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่ม ขึ้นหลังทารกดิ้น หรือมดลูกหดรัดตัว
ไม่มี late deceleration
Positive
มี late deceleration ทุกครั้ง ในระยะช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูกหรือพบ late deceleration มากกว่าครึ่งหนึ่งของการทดสอบที่มีการหดรัดตัวของมดลูก
base line variability มักจะลดลงกว่าปกติ
อัตราการเต้นของหัวใจไม่เพิ่ม เมื่อทารกดิ้น หรือมดลูกหดรัดตัว
บทบาทพยาบาล
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงขั้นตอนและวิธีการตรวจ
จัดท่านอนในลักษณะ Semi-fowler หรือนอนตะแคง
วัดความดันโลหิต
สังเกตอาการทุก 15-20 นาที ประเมิน FHR reactivityและอาจจะมีการหดรัดตัวของมดลูกที่เกิดขึ้นเองประมาณร้อยละ10-15 โดยกำหนดให้มดลูกมีการหดรัดตัว 3 ครั้ง ใน 10 นาที duration 40-60 วินาที
ดูแลให้ได้รับ Oxytocin ทางหลอดเลือดดำ
ถ้ามีการหดรัดตัวของมดลูกเองไม่ต้องให้ Oxytocin
ถ้าพบว่ามี late deceleration เกิดขึ้นทุกครั้ง ที่มดลูกหดรัดตัวให้สรุปว่าเป็นผลบวกและให้หยุดทดสอบ
Non Stress test (NST)
การแปลผล
Reactive
FHS ิbaseline 110-160 ครั้ง /นาที FHS เพิ่ม จาก baseline เท่ากับหรือมากกว่า15ครั้ง /นาที และคงอยู่นานเท่ากับหรือมากกว่า15 วินาที การดิ้นมีจำนวน 2ครั้งหรือมากกว่า ภายใน 20 นาที
Non-reactive
การเพิ่มขึ้นของ FHR ไม่เป็นไปตามเกณฑ์หรือไม่มีการเพิ่มขึ้นของ FHR เลยในการตรวจนาน 40 นาที
บทบาทพยาบาล
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงขั้นตอนและวิธีการตรวจ
จัดท่านอนในลักษณะ Semi-fowler หรือนอนตะแคง
แนะนำให้หญิงตั้ง ครรภ์กด marker เพื่อบันทึกเมื่อรู้สึกว่าเด็กดิ้น
วัดความดันโลหิต
สังเกตอาการและอาการแสดงของ Supine hypotension
Biochemical Assessment
MSAFP
อายุครรภ์ 16 – 18 สัปดาห์
ค่าปกติ AFP 2.0 – 2.5 MOM
MSAFP สูงผิดปกติจะพบได้ในกรณีที่่ทารกมี open neural tube defect
MSAFP ต่ำกว่าปกติ พบว่ามีความสัมพันธ์กับ Down’s syndrome
CVS
อายุครรภ์ 8 – 11 สัปดาห์
การพยาบาล
อธิบายวัตถุประสงค์
ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์อยู่ในท่านอนขึ้นขาหยั่ง กรณีจะตรวจโดย transcervical route
วัดสัญญาณชีพ
ให้กำลังใจและอยู่เป็นเพื่อนหญิงตั้งครรภ์ขณะแพทย์ทำการตรวจ
แนะนำให้งดทำงานหนักอย่างน้อย 1 วัน และงดการมีเพศสัมพันธ์ ภายใน 1- 2สัปดาห์
ถ้ามีอาการผิดปกติภายหลังการทำ เช่น ปวดท้องรุนแรง มีเลือดออกให้รีบมาโรงพยาบาลทันที
estriol
การแปลผล
ค่า estriol ลดลง แสดงว่าทารกอาจตายในครรภ์
ค่า estriol ต่ำอย่างเรื้อรัง ทารกพิการแต่กำเนิด ทารกติดเชื้้อเรื้อรัง
วิธีการตรวจ
เก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
Amniocentesis
การเจาะน้ำคร่ำ
L/S ratio
ค่าปกติของ L/S ratio
อายุครรภ์ 26 – 34 สัปดาห์ ค่า L/S = 1 : 1
อายุครรภ์ 34 – 36 สัปดาห์ L/S = 2 : 1
ใน 26 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ ค่า S > L
Shake Test
2 หลอด
ถ้าเกิดฟองทั้ง 2 หลอด แสดงว่าได้ผลบวก ปอดของทารกเจริญเต็มที
5 หลอด
มีฟองอากาศเกิดขึ้น 3 หลอด แสดงว่า ได้ผลบวกปอดของทารกเจริญเต็มที
ช่วงเวลาในการเจาะน้ำคร่ำ
อายุครรภ์ 9-14 สัปดาห์ และช่วงอายุครรภ์ 16 -18 สัปดาห์
การพยาบาล
ก่อนการเจาะ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจและการแก้ปัญหาในกรณีที่มีความผิดปกติ
ให้ลงนามในใบอนุญาตการยอมรับการตรวจ
ให้ผู้รับบริการตัดสินใจ เจาะน้ำคร่ำหรือไม่
เตรียมผู้รับบริการถ่ายปัสสาวะ
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาทางพันธุกรรม
ทำความสะอาดหน้าท้องโดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรค
ขณะเจาะ
ภายหลังการตรวจให้ผู้รับบริการนอนหงาย และปิดแผลด้วยพลาสเตอร์
ให้ผู้รับบริการพักผ่อนประมาณ 30 นาที –1 ชั่วโมง
สังเกตอาการผิดปกติ
ฟังเสียงFHS ทุก15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
อยู่กับผู้รับบริการขณะแพทย์ทำหัตถการ
หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนหน้าท้อง 1 - 3 วันหลังเจาะ
งดมีเพศสัมพันธ์ภายหลังการเจาะ 7 วัน
แนะนำให้หญิงตังครรภ์สังเกตอาการแทรกซ้อน
Cordocentesis/FBS
อายุครรภ์ 18 สัปดาห์ขึ้นไป
การพยาบาล
ตรวจสอบการดิ้นของทารก
การฟังเสียงการเต้นของหัวใจทารก
การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
การประเมินภาวะเลือดออกจากสายสะดือจากการตรวจด้วยคลื่่นความถี่สูงและ fetal monitoring 30 – 60 นาที ภายหลังการตรวจ
ประเมินสภาพทารกในครรภ์โดยใช้เครื่อง Electronic monitoring
Biophysical Assessment
Ultrasound
ข้อบ่งใช้
หาสาเหตุการมีเลือดออกทางช่องคลอด
การตรวจความพิการแต่กำเนิดของทารก
การวินิจฉัยเนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
วินิจฉัยอายุครรภ์
บอกตำแหน่งที่รกเกาะ
บทบาทพยาบาล
จัดให้นอนหงายหัวสูงเล็กน้อย มีหมอนรองใต้เข่าและหลัง
ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์ดื่มน้ำ 1 - 2 แก้ว ก่อนตรวจอย่างน้อย 1 ชั่วโมง และกลั้น ปัสสาวะไว้จนกว่าจะตรวจให้เสร็จ
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์ทราบถึงระยะเวลาในการตรวจจะใช้เวลา 10-30 นาที
ทำความสะอาดหน้าท้องหลังตรวจ
งดน้ำงดอาหารในบางกรณี เช่น ครรภ์นอกมดลูก, รกเกาะต่ำที่ต้องผ่าตัด
ให้คำปรึกษา
Biophysical profile
การแปลผล
คะแนน 4 – 6 คะแนน
ผิดปกติ ควรเฝาติดตามอาการเปลียนแปลงอย่างใกล้ชิด
คะแนน 0 - 2 คะแนน
ผิดปกติ ควรยุติการตั้งครรภ์
คะแนน 8 – 10 คะแนน
ปกติ
อายุครรภ์ 28-30 สัปดาห์ขึ้นไป
บทบาทของพยาบาล
ผ่อนคลายความวิตกกังวลและความกลัวต่าง ๆ
ให้ความรู้ วิธีการตรวจแก่หญิงตั้งครรภ์
ติดตามผลการตรวจ
การนับลูกดิ้น
Count-to-ten
เคลื่อนไหวตั้งแต่ 09.00 น. จนครบ 10 ครังซึ่งไม่ควรเกิน 12 ชั่วโมง (ถึง 21.00น.)เริ่ม อายุครรภ์ 32 สัปดาห์
Liston
เริ่มทำตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ถ้าเด็กดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้ง ใน 12 ชั่วโมง แสดงว่าเกิดภาวะ DFM
Sadovask
1 ชั่วโมงตอนเช้า 1 ชั่วโมงตอนเที่ยง และ 1ชั่วโมงตอนเย็น ในแต่ละช่วงเวลาไม่ควรดิ้นน้อยกว่า 3 ครังในหนึ่งวัน ควรได้มากกว่า10 ครั้ง
Amniotic fluid volume measurement
MVP
ค่าปกติ คือ 2.1 – 8 ซม.
AFI
ค่าปกติ คือ 5 – 24 ซม.
นาย พงศ์ศิริ พรมจารี รหัส 602701059