Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน Birth asphyxia, นายชลธร บุญเฉลิม รหัสนศ.601001029…
ภาวะขาดออกซิเจน Birth asphyxia
ความหมาย
ทารกแรกเกิดไม่สามารถหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้ขาดสมดุลของการแลกเปลี่ยนก๊าซ
Hypoxia
Hypercapnia
Metabolic acidosis
กลไลการเกิด
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก
Placenta infarction
Abruptio placenta
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโดยผ่านทางรกไม่เพียงพอ
มารดามีภาวะความดันโลหิตสูง
มารดามีอาการช็อค
สูญเสียเลือด ซีด
การไหลเวียนของเลือดทางสายสะดือขัดข้อง
Cord compression
ปอดทารกขยายไม่เต็มที่และการไหลเวียนเลือดยังคงเป็นแบบทารกในครรภ์
ทางเดินหายใจอุดตัน
น้ำคั่งในปอด
การหายใจล้มเหลวเนื่องจากสมองถูกกด
อาการและอาการแสดง
ระยะตั้งครรภ์หรือก่อนคลอด
ระยะแรก
FHS > 160 ครั้ง/นาที Tachycardia
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
ระยะหลัง
FHS < 110 ครั้ง/นาที Bradycardia
ทารกมีการเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ
ระยะคลอด
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
Thin meconium น้ำคร่ำมีสีเขียวปนเหลือง
Thick meconium น้ำคร่ำมีสีเขียวเข้ม
ระยะหลังคลอด
ทารกมีคะแนน Apgar score < 7 คะแนน
ไม่หายใจเอง ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นลดลง หัวใจเต้นช้า
การเปลี่ยนแปลงในปอด
การทำงานของเซลล์ปอดเสียไป
ทารกมีอาการหายใจหอบ ตัวเขียว
การเปลี่ยนแปลงในระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด
หัวใจเต้นเร็ว ผิวซีด หายใจแบบ Gasping ความดันโลหิตต่ำ อุณหภูมิร่างกายต่ำลง Metabolic acidosis
การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาท
ทารกซึม หยุดหายใจบ่อย หัวใจเต้นช้าลง ม่านตาขยายกว้างไม่ตอบสนองต่อแสง ไม่มี Doll's eye movement
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหาร
ท้องอืด เยื่อบุลำไส้ถูกทำลาย เสี่ยงต่อการเกิดลำไส้อักเสบเน่าตาย NEC
การเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิซึม
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซียมต่ำ โปแตสเซียมสูง
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะน้อย ไม่ถ่ายปัสสาวะ ถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
อาการและอาการแสดง
ประวัติการคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การพยาบาล
ดูดสิ่งคัดหลั่งให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
เช็ดตัวทารกให้แห้งทันทีหลังตลอดและห่อตัวรักษาความอบอุ่นของร่างกาย เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
เตรียมทีมบุคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอด
บันทุกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
สังเกตอาการขาดออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับนาตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำตามแผนการรักษา
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ดูแลให้พักผ่อน
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
Mild asphyxia
Apgar score 5 - 7 คะแนน
การดูแล
ดูแลช่วยเหลือในขั้นพื้นฐาน 3 ขั้นตอน
การทำทางเดินหายใจให้โล่ง
เมื่อศีรษะทารกคลอดต้อง succion ในปากและจมูกออกให้มากที่สุด เพื่อให้ทารกสูดอากาศเข้าไปยังปอดได้ดีขึ้น
การกระตุ้นการหายใจ
Tactile stimulation
ใช้มือสัมผัส ลูป ถู นวดบริเวณศรีษะ หน้าอก ส่วนหลังของทารก หรือ ใช้การดีดบริเวณฝ่าเท้า เพื่อกระตุ้นทำให้เกิดการหายใจ
ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายทารก
เมื่อทารกคลอดใช้ผ้าแห้งเช็ดคราบเลือดและน้ำคร่ำที่ติดตามตัวทารกออกให้ได้มากที่สุด เปลี่ยนผ้าที่เปียกเป็นผ้าผืนใหม่หุ่อหุ้มตัวทารกเพื่อ Keep warm
Moderate asphyxia
Apgar score 3 - 4 คะแนน
การดูแล
ให้ O2 ผ่าน Cannula
ทารกยังมีอาการเขียว
ให้ O2 100% ผ่าน mask with bag นาน 30s
ทารกยังมีอาการเขียว
ใส่ ET-Tube
ทารกไม่ดีขึ้น HR < 60 ครั้ง/นาที
นวดหัวใจ นาน 30s.
หากทารกดีขึ้น
ใส่ NG-tube เข้าไปในกระเพาะอาหารเพื่อดูดลมออก
Severe asphyxia
Apgar score 1 - 2 คะแนน
การดูแล
ดูแลช่วยเหลือในขั้นพื้นฐาน 3 ขั้นตอน
ช่วยเหลือโดยการช่วยหายใจทันทีที่คลอด
ใส่ ET-Tube และ ให้ O2 100% ผ่าน mask with bag นาน 30s
ทารกไม่ดีขึ้น HR < 60 ครั้ง/นาที
นวดหัวใจ นาน 30s.
ทารกไม่ดีขึ้น
ให้ยาช่วยเพิ่มปริมาณการไหลเวียนของเลือดและช่วยให้หัวใจเต้นดีขึ้น
Epineprine
Naloxone hydrochroride
หากช่วยเหลืออย่างดีและมีประสิทธิภาพ
Pulse กลับมาปกติ
Grimace กลับมาปกติ
Appearance กลับมาปกติ
สีผิวทารกแดงชมพู ปลายมือปลายเท้าจะกลับมาปกติภายหลัง
Respiration กลับมาปกติ
Activity กลับมาเป็นปกติ
มีการเคลื่อนไหวแขนขาของทารก
ทารกหายใจสม่ำเสมอ ร้องไห้เสียงดัง
มีปฏิกิริยาตอบสนอง มีการไอจาม
HR กลับเข้ามาเป็นปกติ
ประเมินการช่วยเหลือทารกทุก 30 วินาที จากการประเมิน Apgar score
นายชลธร บุญเฉลิม รหัสนศ.601001029 ชั้นปีที่ 3/1