Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.1 ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด 5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบขอ…
5.1 ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด
ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
(Pregnancy-induced hypertension)
ประเภท
Preeclampsia-eclampsia ภาวะความดันโลหิตสูงที่จำเพาะกับการตั้งครรภ์
Chronic hypertension: ภาวะความดันโลหิตสูงตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์
Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
Gestational hypertension
เกณฑ์การวินิจฉัย
New-onset Hypertension Systolic BP (SBP) ≥ 140 mmHg
New-onset Proteinuria Urine protein 24 hours ≥ 300 mg OR
Severe features Systolic BP (SBP) ≥ 160 mmHg
หลักในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ด้วย Expectant management
Admit ตลอดการตั้งครรภ์
ให้ MgSO4 นาน 48 ชม
วัดความดันโลหิต
บันทึก fluid intake/ urine output
ตรวจติดตาม Lab
การติดตามสุขภาพทารกในครรภ์สอนนับลูกดิ้น
แนวทางการดูแลทารกในครรภ์
มีการตรวจ Ultrasonography เพื่อประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน
เฝ้าระวังภาวะทารกโตช้าในครรภ์
แนะนำให้ทำFetal surveillance ด้วย NST
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
ระยะคลอด
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ Preeclampsia
bed rest วัดความดันโลหิต
ดูแลให้ได้รับยาป้องกันภาวะชัก
ระยะหลังคลอด
นอนท่าFowler’s position
ประเมินการการหดรัดตัวของมดลูก
Observe Bleeding ให้ IV
บันทึกสัญญาณชีพ และบันทึก I / O
โรคหัวใจระหว่างการตั้งครรภ์
(Heart Disease in Pregnancy)
ชนิดของโรคหัวใจโรคหัวใจแต่กำเนิด
กลุ่มที่มีปริมาตรเลือดเกิน (Volume overload)
กลุ่มที่มีแรงดันสูง (pressure overload)
กลุ่มที่มีอาการตัวเขียว (Cyanosis)
โรคหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease)
โรคหัวใจที่มีภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertensive heart disease)
โรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ (cardiomyopathy)
หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrthymias)
ความรุนแรงของโรคหัวใจ
Class I Uncompromisedสามารถทำกิจกรรมตามปกติ
Class II Slightly compromised ถ้าทำกิจกรรมตามปกติจะเริ่มมีอาการเหนื่อย
Class III Markedly compromised ถ้าทำกิจกรรมตามปกติเพียงเล็กน้อยจะเริ่มมีอาการเหนื่อย
Class VI Severely compromised แม้ขณะพักก็จะมีอาการหอบเหนื่อย
ผลของโรคหัวใจต่อการตั้งครรภ์
แท้งบุตร เนื่องจากทารกขาดออกซิเจน
คลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกตายในครรภ์
ทำให้คลอดง่ายและเร็วเนื่องจากทารกตัวเล็ก
ทารกเกิดโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดในกรณีมารดาเป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
Severe or Progressive dyspnea, Progressive orthopnea
Cyanosis, Clubbing of fingers, Persistent neck vein distension,
การรักษา
รักษาด้วยยา
ยารักษาหัวใจล้มเหลว
ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดปกติ
ยารักษาลิ่มเลือดอุดตัน
ยุติการตั้งครรภ์
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
โลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ์
(Anemia in pregnancy)
การจำแนกภาวะโลหิตจาง
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
โลหิตจางจากการสร้างลดลง
โลหิตจางจากเพิ่มการทำลาย
ผลของโลหิตจางต่อมารดาและทารก
เพิ่มโอกาสการแท้งและการคลอดก่อนกำหนด
Pregnancy induce hypertension
มีโอกาสติดเชื้อ
เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อภาวะหัวใจวายสูงขึ้น
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ทารกตายในครรภ์
ทารกน้ำหนักน้อย
ถ้ามารดามีภาวะโลหิตจางจาก Thalassemia ทารกมีโอกาสเป็นโรคหรือพาหะของโรค
การรักษา
กินธาตุเหล้กวันละ 200 mg
ให้ธาตุเหล็กผ่านทางหลอดเลือดดำ
ให้เลือด
การป้องกัน
แนะนำสตรีตั้งครรภ์ทุกรายรับการเสริมธาตุเหล็ก 60 mg ทุกวัน
ส่งเสริมการบริโภคอาหารอุดมด้วยธาตุเหล็ก
โรคธาลัสซีเมียระหว่างการตั้งครรภ์
Thalassemia in pregnancy
ชนิดของ Thalassemia
α - thalassemia
โฮโมซัยกัสแอลฟ่าธาลัสซีเมีย 1
ฮีโมโกลบินเอช/ คอนสแตนต์สปริง
ฮีโมโกลบินเอช
โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินคอนสแตนต์สปริง
เบต้า- ธาลัสซีเมีย (β – thalassemia )
homozygous
βo-thalassemia/hemoglobin E
homozygous hemoglobin E
การแบ่งระดับของความรุนแรง
Thalassemia major กลุ่มที่มีอาการรุนแรงจำเป็นต้องได้เลือดเป็นประจำ
Thalassemia intermedia กลุ่มที่มีอาการรุนแรง
น้อยถึงปานกลาง ได้รับเลือดบางครั้ง
ผลกระทบของ Thalassemia
ผลต่อมารดา
เกิด Pre-eclampsia
เสี่ยงต่อการตกเลือด
มีอาการทางโรคหัวใจ
ติดเชื้อได้ง่าย
ผลต่อทารก
Fetal distress
น้ำหนักน้อย, การเจริญเติบโตช้า
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายปริกำเนิด
อาการและอาการแสดงของ Thalassemia
เป็นพาหะ อาจมีอาการซีดเล็กน้อย หรือไม่มีอาการใดๆ ทำงานได้ตามปกติ
เป็นโรค อาจมีอาการเล็กน้อย หรือมีอาการมาก จากภาวะ hemolytic anemia
การรักษา
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีน กรดโฟลิกมาก
ยาควรให้ยาเม็ด Folic acid (5 mg)
มื่อทราบตั้งแต่อายุครรภ์น้อยแพทย์
มักจะทำแท้งเพื่อการรักษา
การให้เลือด
การให้ยาจับพาเหล็กออกจากร่างกาย
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนตั้งครรภ์
ให้คำปรึกษาด้านพันธุกรรม
การให้ข้อมูล
เกี่ยวกับทางเลือกเพื่อหลีกเลี่ยงการมีบุตรเป็นโรค
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
ดูแลในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง
แนะนำให้มีความรู้ความเข้าใจ
การพักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะนำมารดารับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ประเมินเด็กดิ้นของทารกในครรภ์
การป้องกันการติดเชื้อ
นางสาวสุพัตรา สมภักดี รหัส 602701110