Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ (Diseases of Urinary system) - Coggle Diagram
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ
(Diseases of Urinary system)
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Urinary system)
ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนบน (Upper Urinary tract)
ไตสองข้าง (Kidney)
เป็นอวัยวะสำคัญที่สุดของระบบนี้
เป็นที่กรองเอาน้ำและของเสียออกจากโลหิตเป็นน้ำปัสสาวะ
หน่วยไต (Nephron)
ทำหน้าที่สร้างปัสสาวะ
โครงสร้างของหน่วยไต (Nephron)
Renal corpuscle
Renal tubule
ประกอบด้วย
Glomerulus
Bowman's capsule
Proximal convoluted tubule (PCT)
Loop of Henle
Distal convoluted tubule (DCT)
Collecting duct
กรวยไต (renal pelvis)
ส่งมาตามท่อไต (Ureter)
ท่อไต (Ureter)
นำน้ำปัสสาวะออกจากไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนล่าง(Lower urinary tract)
เป็นที่เก็บ พักปัสสาวะที่สร้างจากไตและเป็นทางส่งปัสสาวะขับทิ้งออกนอกร่างกาย
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder)
เป็นที่เก็บน้ำปัสสาวะไว้ชั่วคราว เมื่อได้จำนวนที่พอเหมาะจึงหดตัวบีบน้ำปัสสาวะไปสู่ท่อปัสสาวะ (Urethra)
ท่อปัสสาวะ (Urethra)
เป็นทางผ่านของน้ำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะสู่นอกร่างกาย ซึ่งท่อปัสสาวะนั้นมีความแตกต่างกันระหว่างเพศชายและเพศหญิง
Renal malformations ความผิดปกติของไต
ความผิดปกติในปริมาณของเนื้อไต
Agenesis
ไตฝ่อหรือภาวะที่ไม่มีเนื้อไต
Renal agenesis อาจจะเป็นข้างเดียวหรือสอง
ข้าง ถ้าเป็นสองข้าง เรียกว่า
Potter’s syndrome
ร่วมกับปอดไม่เจริญ แขนขาผิดรูปร่าง และมีลักษณะใบหน้าที่เป็นแบบจำเพาะ
Potter’s syndrome
เกิดจากทารกในครรภ์อยู่ในภาวะขาดน้ำคร่ำทำให้ร่างกายถูกกด การแบ่งตัวของเซลล์ผิดปกติ เป็นสาเหตุการเสียชีวิตแต่กำเนิดของทารก
แขนขาที่ผิดปกติบ่อยคือ รูปร่างผิดปกติ โก่ง บิด ข้อเคลื่อน clubfoot
Potter's facies หูติด ต่ำ ผิวหนังย่น จมูกงุ้ม คางเล็ก มีสันนูนเด่นที่หัวคิ้วทั้งสองข้าง
Hypoplasia
ภาวะที่ไตมีขนาดเล็กกว่าปกติมากกว่าร้อยละ 50 จำนวน renal lobule และ calyx ลดลงด้วย แต่เนื้อไตไม่มีความผิดปกติ
Supernumerary kidney
ภาวะที่มีจำนวนไตมากกว่าสอง ส่วนใหญ่จะเป็นสามไต ไตชั้นที่เกินจะแยกออกจากไตปกติหรือเป็นภาวะ
ไตแฝด
ที่ไตสองส่วนอยู่ติดแน่นเป็นไตเดียว
ความผิดปกติในตำแหน่ง รูปร่าง และ Orientation
Ectopia
ภาวะที่ไตอยู่ในตำแหน่งที่ผิดปกติ เช่น อยู่ในอุ้งเชิงกรานเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
Malrotation
ภาวะที่ไตมี Renal pelvis และ ureter อยู่ทางด้านหน้า
Fusion of kidneys หรือ Horseshoe kidney
การเชื่อมกันตรงกลางระหว่างเนื้อไตทั้งสองข้าง
เมื่อทารกสร้างเซลล์ไตขึ้นมาใหม่ จะอยู่ในอุ้งเชิงกรานต่อมามีการขยับตำแหน่งเข้าไปในช่องท้องขณะเดียวกันมีการหมุนตัวของไตให้อยู่ในตำแหน่งผิดปกติกรณีเช่นนี้ไม่ทำให้ทารกมีอาการผิดปกติและทารกยังคงมีชีวิตอยู่ตามปกติได้
ความผิดปกติใน differentiation
Renal cystic diseases โรคไตเรื้อรัง
เป็นรอยโรคที่อาจเป็นพันธุกรรมการเจริญผิดปกติ หรือเกิดขึ้นภายหลัง มักก่อให้เกิดปัญหาในการวินิจฉัยแยกจากเนื้องอกของไต
Polycystic kidney disease โรคถุงน้ำในไต
Adult type
พบได้บ่อย เป็นทั้งสองข้าง ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์แบบ autosomal dominant ไตจะมีขนาดใหญ่ขึ้น บางครั้งหนักได้ถึง4 กิโลกรัมผิวนอกตะปุ่มตะป่ะ หน้าตัดประกอบด้วย cyst ขนาดใหญ่ 3-4 เซนติเมตร
Infantile type
พบได้ตั้งแต่ทารกแรกคลอด มักจะเสียชีวิตในระยะแรกๆ ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์แบบ autosomalrecessive ไตมีขนาดใหญ่ทั้งสองข้าง ผิวหนังนอกเรียบหน้าตัดพบ cyst ทั้งที่ cortex และ medulla ทำให้เนื้อมีลักษณะพรุนแบบฟองน้ำ
Medullary cyst
Medullary sponge kidney
มีการขยายใหญ่เป็นถุงของ collecting tubule ของ medulla พบในผู้ใหญ่ไตยังทำงานปกติ
Uremic Medullary cystic disease
เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ มักมีอาการตั้งแต่เด็ก พบ cyst อยู่ในบริเวณ Medulla ที่สำคัญคือมี cortical tubular atrophy และ interstitial fibrosis ร่วมด้วย ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะไตวายในระยะต่อมา
Simple cyst ซีสต์แบบธรรมดา
อาจพบ cyst เดี่ยวหรือหลายอัน ขนาดอาจจะเล็กหรือใหญ่มักพบอยู่ในบริเวณ cortex เกิด dilatation ของ tubule อาจทำให้มีเลือดออก หรือ calcification ในภายหลัง
Glomerular diseases
พยาธิสภาพที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน Glomerulonephritis (GN)
การอักเสบภายนอกไตที่มีผลต่อไต ส่วนใหญ่เป็นภาวะแพ้ภูมิตนเอง (autoimmunity) เช่น Malaria, Syphilis, Hepatitis และ Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
กลไกการเกิด
Ag + Ab
Ag – Ab complex
เข้าสู่ glomerulus ถูกกรองติดอยู่ภายใน glomerulus
Ag – Ab complex เป็นเหมือนสิ่งแปลกปลอม
กระตุ้น Complement system เพื่อเร่งปฏิกิริยาการอักเสบ
กระตุ้น neutrophil และ monocyte ให้ทำการย่อยสลาย Ag – Ab complex , collagen fiber และเส้นใยเจลาติน
ทำให้รูกรองที่ผนัง glomerulus ขยายใหญ่ขึ้น
1 more item...
พยาธิสภาพที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน
พบได้บ่อยคือ โรคไตจากเบาหวาน (Diabetic nephropathy) หรือจากการรักษาเบาหวาน เช่น การใช้ยากลุ่มซัลโฟนิลยูเรีย (sulfonylurea) ทำให้เกิดภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ จึงเกิดภาวะขาด ADH ตามมา
จากภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน เช่น การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ความดันโลหิตสูง การติดเชื้อในกระแสเลือด
Diabetic nephropathy kidney disease โรคไตจากเบาหวาน
กลไกการเกิด
การกรองเพิ่มขึ้น (hyperfiltration)
เนื่องจากกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดที่นำเลือดเข้าโกลเมอรูลัสมีระดับน้ำตาลภายในเซลล์ลดลงทำให้พลังงานในการหดตัวเกิดการขยายตัวของหลอดเลือดไหลเวียนไปกรองที่ไตเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงกลไกการทำงานของ Renin
ปกติ juxtaglomerular cell มีหน้าที่สร้าง prorenin และเปลี่ยนเป็นเรนิน สำหรับผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวานจะพบ prorenin เพิ่มขึ้นและการหลั่งเรนินเข้าสู่กระแสเลือดลดลงทำให้ภาวะ hyperkalemia ภาวะกรดเกินเนื่องจากพยาธิสภาพที่หลอดเลือดฝอยของไต (renal tubular acidosis) และภาวะน้ำหนักเกินตามมา
Tubulo-interstitial diseases
เป็นกลุ่มของโรคที่มีความผิดปกติในรูปร่างและหน้าที่ของ tubule และ interstitium ของไต เกิดจากสาเหตุหลายอย่างได้แก่ ยา การติดเชื้อ immunological reaction
Acute interstitial nephritis
พบ interstitial edema ร่วมกับ leukocytic infiltration และ tubular necrosis
Chronic interstitial nephritis
พบ interstitial fibrosis , tubular atrophy และ mononuclear cell infiltration
Tubular diseases
โรคที่สำคัญ คือ
Acute tubular necrosis (ATN)
เป็นภาวะที่มีการถูกทำลายอย่างเฉียบพลันของ Renal tubule เกิดจากการขาดเลือดไปเลี้ยงไตเป็นเวลานาน
Nephrotoxic type : ได้รับสารพิษ
Ischemic type : shock
Acute tubular necrosis (ATN) มี3 ระยะ
ระยะที่ 1 Oliguric phase
เกิดในช่วงแรก เมื่อมีการตายของ renal tubule ทำให้ renal cell หลุดมาอุดตันทางเดินปัสสาวะ ปัสสาวะจึงออกน้อย และมีอาการบวมร่วมด้วย
ระยะที่ 2 Diuretic phase
เกิดในช่วงกลางเมื่อเวลาผ่านไป tubular cell ที่ตายมีการสลายไปและมีการสร้าง cell ใหม่ cell ใหม่
่ที่สร้างไม่สามารถดูดกลับน้ำได้เต็มที่ ปัสสาวะจึงออกมาก
ระยะที่ 3 Recovery phase
เกิดในช่วงหลัง เมื่อนานเข้า tubular cell สามารถดูดน้ำกลับได้ปกติ ปัสสาวะจึงมีปริมาณปกติ
โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
(Urinary Tract Infection: UTI)
กรวยไตอักเสบ( Pyelonephritis)
Acute Pyelonephritis
เกิดทันที และรุนแรง แต่เมื่อได้รับการรักษา จะหายได้ภายใน 2-3 สัปดาห์ มีอาการไตบวมโตมีเลือดคั่งมากขึ้น พบจุดหนองกระจายเป็ นทางจากผิว ลึกลงไปในส่วน cortex,medulla และ renal pelvis
รายที่รุนแรง เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือในรายที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะร่วมด้วยอาจมีการตายของ renal papilla เรียกว่า Renal papillary necrosis
Chronic Pyelonephritis
เป็นการอักเสบไม่รุนแรง แต่เป็นๆหายๆ ไตจะมีขนาดเล็กลง ผิวขรุขระ เนื่องจากรอยแผลเป็น(scar) รูป “U” ที่เกิดจากการทำลายของเนื้อไตแล้ว แทนที่ด้วย fibrosis ร่วมกับ deformity ของ calyx ที่อยู่ใกล้เคียง มักเกิดจากการควบคุมสาเหตุของโรคไม่ได้ เช่น นิ่วในไตเรื้อรัง หรือต่อมลูกหมากโต
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
Urolithiasis , urinary calculi
ประกอบด้วย amorphous crystalloid ได้แก่ uric acid, calcium , oxalate และ magnesium phosphate
ปัจจัยส่งเสริม ได้แก่ crystalloid conc. เพิ่มขึ้นในปัสสาวะ : ปัสสาวะน้อย ,crystalloid ตกตะกอนมากขึ้น : การคั่งของปัสสาวะ ,Foreign bodies : แบคทีเรีย
Nephrocalcinosis
ภาวะที่มี calcium สะสมในเนื้อไต Nephrocalcinosis เป็ นสาเหตุหนึ่งของ
การเกิดนิ่วในไต สาเหตุเกิดจาก Hypercalcemia
กลไกการเกิด
การมีระดับแคลเซียมในเลือดสูง Calcium ส่วนหนึ่งจะถูกดึงไว้ในกระดูกเพื่อใช้ในยามจำเป็นส่วนที่เหลือใช้จะถูกขับออกทางปัสสาวะเมื่อมีแคลเซียมสูงร่างกายจะขับของเสียออกไม่หมดเกิดการตกตะกอนของแคลเซียมในเนื้อไต
อาจเกิดเพียงข้างเดียว หรือ เกิดพร้อมกันทั้งสองข้าง
Urinary tract obstruction
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุ
1.ความพิการแต่กำเนิด
2.การอุดกั้นจากรอยโรคที่เกิดขึ้นภายหลัง ได้แก่ นิ่ว เนื้องอก การอักเสบ ก้อน renal papillae ที่ตายหรือก้อนเลือด การตั้งครรภ์
3.ความผิดปกติของระบบประสาทที่ควบคุมการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ
ผลจาก Urinary tract obstruction
1.ทำให้ทางเดินปัสสาวะส่วนที่อยู่เหนือตำแหน่งที่มีการอุดตันขึ้นไปขยายตัว (dilatation)
2.มีโอกาสเกิดนิ่วและการติดเชื้อเพิ่มขึ้น และ ทำลายเนื้อไตอย่างถาวร
Hydronephrosis
ภาวะที่มี dilatation ของ renal pelvis และ Calyx ร่วมกับมี Progressive atrophy ของเนื้อไต
สาเหตุจากการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
ความผิดปกติในส่วนของ Ureter
พยาธิสภาพที่สำคัญ คือ
การอุดกั้น
เนื้องอก
vesicoureteral reflux
สาเหตุ
นิ่วที่หลุดมาจากส่วนของไต
หลอดไตตีบ(stricture) อาจเป็นมาแต่กำเนิดหรือเป็นผลจากการอักเสบ
เนื้องอกของ Ureter เนื้องอกของอวัยวะใกล้เคียงเช่นปากมดลูกและมดลูก
การอุดกั้นเหล่านี้ทำให้ปัสสาวะที่สร้างแล้วขับถ่ายออกจากร่างกายไม่ได้หรือได้น้อย ทำให้เกิด Hydronephrosis ของไตข้างนั้น แต่ถ้าการอุดกั้นเกิดในส่วนล่างของหลอดไต อาจเกิดการโป่งพองของ Ureter (Hydroureter)
Vesicoureteral reflux
เป็นความผิดปกติที่เกิดจากมีการไหลย้อนกลับของน้ำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะเข้าไปในหลอดไตและ renal pelvis
พบมากในเด็ก อาจทำให้มีการติดเชื้อและเป็นสาเหตุหนึ่งของ pyelonephritis
สาเหตุ
การทำศัลยกรรมทางการแพทย์
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บจากภายนอก
พันธุกรรมมีความผิดปกติของ sphincter
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนที่ออกจากกระเพาะปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ(Cystitis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
มักจะเกิดในผู้หญิงหน้าจากท่อปัสสาวะสั้นและรูเปิดของท่อปัสสาวะอยู่ใกล้ตัวมาทำให้ติดเชื้อสามารถเข้าไปในท่อปัสสาวะ
สาเหตุ
การกลั้นปัสสาวะ
หลังการกระเทือนหรือหลังมีเพศสัมพันธ์
เกิดการอักเสบของท่อปัสสาวะ
มีสิ่งแปลกปลอมในท่อทางเดินปัสสาวะ
อาหารหรือยาบางอย่าง เช่น อาหารที่มีเกลือมากดื่มน้ำน้อย
ดื่มแอลกอฮอล์มาก
ท่อปัสสาวะ
ผู้ชายจะมีขนาดยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 20 เซนติเมตรและมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3-4 ซม. มีทั้งส่วนที่อยู่ภายในและภายนอกร่างกาย
ผู้หญิงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3-4 เช่นเดียวกันกับในผู้ชายแต่มีขนาดสั้นกว่ามากยาวเพียงประมาณ 4 ซม. และอยู่ในร่างกายทั้งหมด
ท่อปัสสาวะอักเสบ (Urethritis)
เป็นการบาดเจ็บอักเสบบวมของเซลล์เยื่อเมือกบุท่อปัสสาวะเกิดจากหลายสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดคือจ้าโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะจากเชื้อแบคทีเรียพบได้ในทุกอายุตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุแต่มักพบได้สูงในวัยที่มีเพศสัมพันธ์สูงคือช่วงอายุ 20 - 35 ปีผู้หญิงมีโอกาสติดเชื้อได้สูงกับผู้ชาย
สาเหตุ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
ติดเชื้อจากโรคหนองใน หรือโกโนเรีย (Gonococcal
urethritis)จากเชื้อที่ไม่ใช่หนองใน เช่น โรคเริม
โรคซิฟิลิสจากการติดเชื้อHIV หรือ โรคเอดส์
การติดเชื้อที่ไม่ใช่จากเพศสัมพันธ์ เช่น เชื้อ E. coli (Staphylococcus) หรือ เชื้อ Pseudomonas ซึ่งอาจติดต่อผ่านมาทางลำไส้(ทางอุจจาระ) หรือทางไตหรือทางกระเพาะปัสสาวะ (ทางปัสสาวะ)
สาเหตุที่ไม่ใช่จากการติดเชื้อ
การบาดเจ็บของท่อปัสสาวะจากการสวนปัสสาวะ เช่น ในการผ่าตัด การใส่คาท่อปัสสาวะในผู้ป่วยอัมพาตหรือจากเยื่อเมือกบุท่อปัสสาวะได้รับการระคายเคืองต่างๆเช่นน้ำยาหรือสเปรย์ต่างๆที่ใช้ทำความสะอาดหรือดับกลิ่นบริเวณอวัยวะเพศ
อาการของผู้ป่วยที่เป็นท่อปัสสาวะอักเสบ
อาการท่อปัสสาวะอักเสบในผู้ชายโดยทั่วไปอาการจะเหมือนผู้หญิงที่แตกต่างคืออาจมีหนองออกจากปลายท่อปัสสาวะอ่านคลำได้ต่อมน้ำเหลืองขาหนีบโตเจ็บข้างเดียวหรือทั้ง 2 ข้าง