Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ช็อค แผลไฟไหม้ พิษแมลงสัตว์กัดต่อย - Coggle Diagram
ช็อค แผลไฟไหม้ พิษแมลงสัตว์กัดต่อย
แผลไหม้ (Burn) :<3:
หมายถึง
ผิวหนัง หรือเนื้อเยื่อที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาจากการถูกเผาไหม้ หรือการ ได้รับ ความร้อนจากเปลวไฟ กระแสไฟฟ้า รังสี สารเคมี
การแบ่งความรุนแรงของผิวหนังไหม้
• ขนาดของแผลซึ่งอาจจะใช้กฎเลขเก้า (rules of nine) ในผู้ใหญ่ หรือวิธีของ Lund and Browder ในเด็ก (อาจประเมินโดยกำหนดว่าพื้นที่ 1 ฝ่ามือของผู้ป่วยเท่ากับ 1% ของพื้นที่ผิวหนังของผู้ป่วย)
• ความลึกของบาดแผล
.
ระดับความลึกของบาดแผล
.
Partial-thickness burns
ระดับที่ 2 ตื้น (superficial 2⁰ burns)
ส่วนที่ถูกทำลาย : หนังกำพร้า(epidermis)และชั้นบนของหนังแท้ (superficial part of dermis)
ลักษณะของบาดแผล : บาดแผลพองเป็นตุ่มน้ำใส มีอาการปวด
การหายของแผล : ประมาณ 10-14 วัน ลักษณะของบาดแผลเป็นค่อนข้างดี
.
ระดับที่ 2 ลึก (deep 2⁰ burns)
ลักษณะของบาดแผล : ผิวหนังเป็นสีขาวซีดแต่ยังมีลักษณะนิ่มอยู่
การหายของแผล : ประมาณ 3-4 สัปดาห์ ลักษณะของแผลเมื่อหายจะเป็นแผลเป็นมาก
ส่วนที่ถูกทำลาย : หนังกำพร้า (epider-mis) ชั้นบนและชั้นลึกของผิวหนังแท้แต่ยังมีบางส่วนเหลืออยู่ (deep part of dermis)
ระดับที่ 1
ส่วนที่ถูกทำลาย : หนังกำพร้า (epidermis)
ลักษณะของบาดแผล : ผิวหนังสีแดงเหมือนโดนแดดเผา แห้ง
การหายของแผล : ไม่มีบาดแผล
.
Full-thickness burns
.
ระดับ 3
ส่วนที่ถูกทำลาย : ผิวหนังเป็นสีขาว หรือน้ำตาล แข็งเหมือนหนังอาจพบเส้นเลือดอุดตันอยู่ใต้ผิวหนัง
การหายของแผล : แผลจะหายจากการหดรั้ง (wound contraction) หรือการปลูกถ่ายผิวหนัง (skin grafting)
ส่วนที่ถูกทำลาย :ผิวหนังถูกชั้นถูกทำลายทั้งหมดบางครั้งรวมทั้งเนื้อเยื่อที่อยู่ลึกกว่าด้วย
.
เม่นทะเลตำ (Sea urchins) :<3:
.
หมายถึง
การถูกเม่นทะเลตำตามอวัยวะต่างๆที่สัมผัสกับหอยเม่น หนามของหอยเม่นจะมีลักษณะฐานหนาม กว้างส่วนปลายแหลม ข้างในกลวง พิษจะอยู่ในท่อหนามแหลม
.
ฉุกเฉิน.
.
อาการ
Systemic reaction จะมีอาการแพ้ต่างๆ โดยเฉพาะ anaphylaxis
.
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
.
• ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
• ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานให้ทำการช่วยฟื้นคืนชีพ ( cardiopulmonary resuscitation )
• ให้ออกซิเจนถ้าหายใจไม่ดี
• ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ถ้ามีความดันโลหิตลดลงหรือมีภาวะช็อก
• ให้การรักษาเหมือน local reaction ( ที่จะกล่าวต่อ ไป)
• ส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
.
สามารถให้การดูแลรักษาได้
อาการ
Local reaction จะมีอาการเจ็บปวดเหมือนถูกหนามตำ ต่อมาจะมีอาการชาบริเวณที่ถูกตำ และถ้าหนามของหอยเม่นหักคา จะปวดมาก โดยเฉพาะเม่นทะเลตำ จะมีหนามที่ยาวและเปราะมาก
.
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
.
•ทุบหนามที่หักคาให้แหลก โดยอาจใช้น้ำส้มสายชูหรือน้ำมะนาวทาที่แผลสลับการทุบ เพื่อลดอาการชา
• ให้ยาแก้ปวดถ้าปวดมาก
• ให้ยาแก้แพ้
• ทาด้วยแอมโมเนีย เพื่อช่วยลดอาการปวด
ได้รับพิษจากแมงกะพรุน (Jellyfish dermatitis) :red_flag:
.
Fatal reaction
.
อาการ
anaphylaxis, cardio pulmo nary arrest
.
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
• ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานให้ทำการช่วยฟื้นคืนชีพ
.
Systemic reaction
อาการ
ปวดเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน เหงื่อออก น้ำตาไหล ไข้ กล้ามเนื้อกระตุก ชา แน่นหน้าอก
.
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
.
• ลดการเคลื่อนไหวบริเวณบาดแผล ห้ามถูแผล
• Local heat อุ่นน้ำทะเลที่อุณหภูมิ 39 องศา เทราดบริเวณแผล (ห้ามใช้น้ำจืด หรือแอลกอฮอล์ เพราะความเข้มข้นน้อยกว่าน้ำทะเลจะทำให้ถุงพิษแตก เข็มพิษกระจายมากขึ้น)
• ใช้แป้งโรยบริเวณแผลเพื่อเอาหนวดออก
• ใช้ผักบุ้งทะเลโขลกแล้วทาบนแผล
• รักษาตามอาการ ยาแก้แพ้ ยาแก้ปวด ส่วนยาแก้อักเสบให้กรณีแผลลึกมากๆ
• แนะนำเฝ้าระวังอาการของ anaphylaxis และ systemic infection
หมายถึง
เป็นการสัมผัสหนวดของแมงกะพรุนแล้วมีอาการอักเสบของผิวหนังบริเวณที่สัมผัส ภายในหนวดจะมี ถุงพิษ หากถุงพิษแตกออก จะมีเข็มพิษอยู่ในถุงพิษจำนวนมาก เข็มพิษจะแทงเข้าผิวหนังบริเวณที่ถุงพิษ แตกออกพิษจะซึมเข้าสู่กระแสเลือด
.
Local reaction
.
อาการ
บวมแดงเป็นแนวเส้น ตามรอยหนวดที่สัมผัส เจ็บ คัน บางทีมีตุ่มพอง ระยะเวลาการเกิดตั้งแต่ทันทีที่สัมผัส และ/หรือหลังสัมผัส 1-4 สัปดาห์
.
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
.
• ดูแลระบบหายใจ โดยเฉพาะภาวะหลอดลมตีบ ได้ยินเสียงวี๊ด หายใจลำบาก เขียว
• ให้สารน้ำตามความเหมาะสม
• ให้ยาแก้แพ้
• ให้ออกซิเจน
• ส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
ไฟฟ้าช็อต (Electrical injury) :red_flag:
ความรุนแรงขึ้นอยู่กับ
.
• ชนิด และกำลังของกระแสไฟฟ้า
• ตำแหน่งของร่างกายที่สัมผัสไฟฟ้า
• สิ่งแวดล้อม เช่น ร่างกายสัมผัสโลหะ กำลังยืนอยู่ในน้ำ เป็นต้น
.
อาการสำหรับผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
.
ระบบการไหลเวียนโลหิตผิดปกติ หัวใจเต้นผิดปกติ
มีบาดแผลไหม้ โดยเฉพาะบริเวณทางเข้าและทางออกของกระแสไฟฟ้า
4.มีภาวะกระดูกหัก หรือข้อเคลื่อน กระดูกสันหลังหัก
เกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน
.
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
.
• ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
• ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานให้ทำการช่วยฟื้นคืนชีพ
• ให้ออกซิเจนถ้าหายใจไม่ดี
• ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
• ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ถ้ามีความดันโลหิตลดลงหรือมีภาวะช็อก
• ให้การดูแลบาดแผล และประเมินอาการบาดเจ็บร่วม เช่น กระดูกสันหลังหัก (spinal injury) การบาดเจ็บที่ศีรษะ (head injury)
• ส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
หมายถึง
ภาวะที่ผู้ป่วยจะได้รับอันตรายเนื่องจากผลโดยตรงของกระแสไฟฟ้าและจากการที่ กระแสไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน
ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ไม่มีความผิดปกติต่างๆ
.
• ให้การดูแลบาดแผล
• ให้ยาลดอาการปวด
• พูดคุยปลอบโยนเพื่อคลายความกลัวความวิตกกังวล
• ติดตาม ประเมินผลการรักษา ติดตามอาการเกี่ยวกับหัวใจ ต้อกระจก และอาการทางระบบจิตประสาท ( เช่น การมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง )