Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Electronic fetal heart rate monitoring :<3: :<3: - Coggle Diagram
Electronic fetal heart rate monitoring :<3: :<3:
ชนิดการตรวจ :red_flag:
Internal or direct monitoring
:check:
เป็นการตรวจจับคลืนไฟฟาทีเกิดจาการเต้นของหัวใจทารกโดยตรง :<3:
ใส่ transducer เพือวัดความดันทีเกิดจากการหดรัดตัวของมดลูก
:<3:
การตรวจวัดความดันภายในโพรงมดลูกโดยตรง จะต้องใส่ขัว electrode เพือวัดคลืนไฟฟ้าหัวใจเข้าไปติดทีศีรษะทารกในครรภ์ :warning:
External monitoring
:check:
มี transducer วัดความดันทีเกิดจากการหดรัดตัวของมดลูกติดอยู่ทีผนังหน้าท้องในตํา แหน่งยอดมดลูก
:red_flag:
การตรวจอัตราการเต้นของหัวใจทารกด้วยเครืองมือ Doppler ทีวางไว้ผนังหน้าท้องตําแหน่งใกล้กับหัวใจทารก
:warning:
ระยะก่อนคลอด :red_flag:
Non Stress test (NST) :warning:
การแปลผล
:check:
Non-reactive
:warning:
การเพิมขึนของ FHR ไม่เปนไปตามเกณฑ์หรือไม่มีการเพิมขึนของ FHR เลยในการตรวจนาน 40 นาที
:green_cross:
Uninterpretable :no_entry:
คุณภาพการทดสอบไม่สามารถแปลผลได้ ควรทําภายใน 24 ชัวโมง :warning:
Reactive :<3:
มี acceleration อาจจะมีหรือไม่มีการดินของทารกในครรภ์
อัตราการเต้นของหัวใจ 110-160 ครัง/นาที
อัตราการเต้นของหัวใจทารกเพิมจาก baseline เท่ากับหรือมากกว่า 15 ครัง/นาที
FHR อย่างน้อย 10 bpm และนานกว่า 10 วินาที
Suspicious :<3:
🎀การเพิมของอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 2 ครัง
🎈อัตราเพิมน้อยกว่า 15 ครัง/ นาที หรืออยู่สันกว่า 15 วินาที เมือทารกดิ
Contraction stress test (CST) / Oxytocin challenge test (OCT)
:red_flag:
ข้อห้ามของการทํา CST :check:
การตังครรภ์ทีเกรงว่าจะเกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด เช่น ครรภ์แฝด, ปากมดลูกไม่แข็งแรง, ถุงนาแตกก่อนกําหนด
:red_flag:
เคยผ่าตัดคลอดชนิด Classical cesarean section :recycle:
รกเกาะต่ำ :no_entry:
บทบาทพยาบาล :check:
:red_flag:🎈🎈
อธิบายให้หญิงตังครรภ์ทราบถึงขันตอนและวิธีการตรวจ
จัดท่านอนในลักษณะ Semi-fowler
วัดความดันโลหิต
ดูแลให้ tocodynamometer และ Droppler tranducer ติดกับหน้าท้องของหญิงตังครรภ์
ดูแลให้ได้รับ Oxytocin ทางหลอดเลือดดํา
สังเกตอาการทุก 15-20 นาที ประเมิน FHR reactivity และอาจจะมีการหดรัดตัวของมดลูกทีเกิดขึนเองประมาณร้อยละ 10-15 โดยกําหนดให้มดลูกมีการหดรัดตัว 3 ครังใน 10 นาที duration 40-60 วินาที
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก ถ้ามีการหดรัดตัวของมดลูกเองไม่ต้องให้ Oxytocin ดูแลการปรับหยด Oxytocin ในอัตรา 0.5 มิลลิยูนิต/นาที โดยเพิมอัตราการให้ช้าๆจนกว่าจะมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างเพียงพ อ
ถ้าพบว่ามี late deceleration เกิดขึนทุกครังทีมดลูกหดรัดตัวให้สรุปว่าเปนผลบวก และให้หยุดทดสอบ
การแปลผล :check:
Unsatisfactory :red_flag:
ไม่สามารถแปลผลเนืองจากกราฟทีบันทึกไม่สามารถอ่านได้ หรือมีการหดรัดตัวของมดลูกน้อยกว่า 3 ครังในเวลา 10 นาที
:forbidden:
Suspicious :check:
ถ้าไม่มีการเพิมของอัตราการเต้นของหัวใจเมือทารกดิน ควรทําซ้ำใน :no_entry: 24 ชัวโมง
มี late deceleration เปนครั้งคราว
base line variability อาจปกติหรือลดลง
:warning:
Positive :check:
อัตราการเต้นของหัวใจไม่เพิม เมือทารกดินหรือมดลูกหดรัดตัว
base line variability มักจะลดลงกว่าปกติ
มี late deceleration ทุกครังในระยะช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูก
Hyperstimulation :check:
มดลูกมีการหดรัดตัวมากกว่าปกติ หรือหดรัดตัวแรงมาก ในกรณีนีถ้ามี late deceleration เกิดขึนจะแปลผลไม่ได้
:no_entry:
Negative :check:
:star: :!!: :fire:
ไม่มี late deceleration
base line variability ปกติ
อัตราการเต้นของหัวใจเพิมขึนหลังทารกดินหรือมดลูกหดรัดตัว
บทบาทพยาบาล :red_flag:
:black_flag: :star: :red_flag:
อธิบายให้หญิงตังครรภ์ทราบถึงขันตอนและวิธีการตรวจ จัดท่านอนในลักษณะ Semi-fowler หรือนอนตะแคง วัดความดันโลหิต
ดูแลให้ tocodynamometer ของ external monitor คาดหน้าท้องหญิงตังครรภ์เพือบันทึก บันทึกFHR ไปเรือยๆตลอดการทดสอบ :star:
แนะนําให้หญิงตังครรภ์กด marker เพือบันทึกเมือรู้สึกว่าเด็กดิน
ขณะตรวจควรสังเกตอาการและอาการแสดงของ Supine hypotension
เมือตรวจเสร็จควรเช็ดเจลออกจากหน้าท้องและควรดูแลหญิงตังครรภ์ให้ลุกช้าๆ :warning:
ถ้าผล reactive ให้ตรวจติดตามสุขภาพทารกตามความเสียงเดิม แต่ถ้าผล nonreactive ให้ตรวจยืนยันด้วยวีธีอืนเพิมเติม เช่น contraction stress test (CST) หรือ biophysical profile (BPP) หรือ Doppler ultrasound :check: