Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9 อาหารที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่9 อาหารที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ
โรคเบาหวาน
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยเบาหวาน
1.เรียนรู้และนับคาร์บกันอาหารแลกเปลี่ยน
การนับปริมาณสารอาหารคาร์โบโฮเดรตในอาหารที่กินเข้าไปทำให้มีผลต่อระดับน้ำตาลในกระแสเลือด
2.เลือกกินเนื้อสัตว์อย่างฉลาด
-กินโปรตีน0.8กรัม/น้ำหนักตัว
-กินเนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่ำและมีแคลเซียม เหล็ก สังกะสี
หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูง
3.รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
-เลือกคาร์โบไฮเดรตชนิดดีกิน
-เลือกกินชนิดไขมันที่ช่วยลดคลอเรสเตอรอลที่ไม่ดี
-กินอาหารที่มีแอนตี้ออกซิเดนซ์
-กินอาหารที่มีจุลินทรีย์สุขภาพ
4.รู้จักเลือก รู้จักลดและงดอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
-ลดและงดคาร์โบไฮเดรตชนิดไม่ดี
-ลดและงดไขมันที่ได้จากผลิตภัณฑ์สัตว์และไขมะนทารนซ์
-ลดอาหารหมักดองและอาหารเค็มจัด
5.กินโดยควบคุมปริมาณอาหารจากพลังงานที่ต้องการในแต่ละวัน
ระดับการใช้แรงงานของแต่ละบุคคลไม่เท่ากันขึ้นกับแต่ละกิจกรรมการออกแรง/ออกกำลังกาย
โรคหัวใจ
อาหารที่ทำให้ระดับไขมันตัวร้ายในเลือดสูง
1.อาหารที่มีกรดไขมันอิ่มตัว
ผลิตภัณฑ์จำพวกนม
เนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูง
ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว
น้ำมัรปาล์ม น้ำมันมะพร้าว
2.อาหารที่มีไขมันทรานส์
พบได้ในอาหารที่มีการใช้น้ำมันที่มีการเติมไฮโดรเจนลงในน้ำที่มีกรดไขมันอิ่มตัวสูง
3.อาหารที่มีคลอเรสเตอรอล
ไข่แดง เนื้อสัตว์ไขมันสูงและผลิตภัณฑ์นมที่มีไขมันสูง
เครื่องในสัตว์ เช่นตับ
สัตว์ปีก เช่น เป็ด ไก่
สัตว์น้ำประเภทที่มีเปลือก เช่นหอย
โรคไต
ประเภทของอาหารที่ใช้ควบคุมโรคไต
1.อาหารจำกัดโปรตีน
2.อาหารเพิ่มโปรตีน
3.อาหารจำกัดโซเดียม
4.อาหารเพิ่มโซเดียม
5.อาหารจำกัดโปตัสเซียม
6.อาหารจำกัดฟอสเฟต
7.อาหารที่เพิ่มโปตัสเซียม
อาหารเพิ่มโซเดียม
1.ใช้เครื่องปรุงรสเค็มในการปรุงอาหาร เช่น เกลือ นำปลา ซอส
2.ใช้อาหารที่มีรสเค็มในการประกอบอาหารเช่น เต้าเจี้ยว
3.กินเนื้อสัตว์ที่ปรุงเค็มให้มากขึ้น เช่น เนื้อเค็ม ไข่เค็ม
4.กินอาหารที่มีโซเดียมมากตามธรรมชาติเพิ่มขึ้น เช่น ไข่ ผักต่างๆ
โรคเก๊าท์
1.อาหารที่มีพิวรีนมาก
ควรงดหรือหลีกเลี่ยง ได้แก่ตับอ่อน หัวใจ กึ๋นของไก่ เนื้อไก่ ฯลฯ
2.อาหารที่มีปริมาณพิวรีนปานกลาง
รับประทานได้ปริมาณจำกัด ได้แก่ เนื้อหมูวัว ปลากะพง ปลาหมึก ปู ฯลฯ
3.อาหารที่มีปริมาณพิวรีนน้อย
ทานได้ปกติ ได้แก่นมและผลิตภัณฑ์จากนมไข่ ธัญพืชต่างๆ ฯลฯ
ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วย
1.พลังงาน ควรได้รับประมาณ50-70แคลอรี่/วัน
2.โปรตีน ควรได้รับวันละ2-3กรัม-น้ำหนักตัว1กิโลกรัม
3.วิตามิน เกลือแร่
4.น้ำ
โรคความดันโลหิตสูง
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
1.ควบคุมน้ำหนัก
2.ลดการบริโภคโซเดียม
2.1ลดความเค็มในอาหาร
2.2หลีกเลี่ยงอาหารสำเร็จรูป
2.3ลดความถี่และปริมาณการกินอาหารที่มีน้ำจิ้ม
2.4หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่สารกันเสีย
2.5ปรุงอาหารด้วยเครื่องเทศหรือสมุนไพร
2.6งดหรือลดอาหารที่มีไขมันมาก
2.7งดบุหรี่และเครื่อดื่มแอลกอฮอล
2.8ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ให้เหมาะสมกับวัย
ผู้ป่วยหลังผ่าตัด
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1.โปรตีน ควรได้รับอย่างน้อยวันละ1.5กรัม/น้ำหนัก1กิโลกรัม
2.พลังงาน ควรได้รับ2500-3000แคลลอรี
3.วิตตามินและเกลือแร่
4.น้ำ ควรได้รับวันละ2000-3000มิลลิลิตร
อาหารที่ไม่เหมาะกับผู้ป่วยผ่าตัด
ควรหลีกเลี่ยงอาหารสุกๆดิบๆ และอาหารประเภทหมักดอง
โรคตับ ตับอ่อนผิดปกติ
1.อาหารบำบัดโรคตับอักเสบ
พลังงาน ควรได้พลังงานสูงกว่าปกติเพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่น้ำหนักจะลดควรได้รับพลังงานวันละประมาณ2500-3500แคลลอรี่
โปรตีน ควรได้รับวันละ75-100กรัม
คาร์โบไฮเดรต ควรได้รับวันละ300-400กรัม
ไขมัน ควรได้รับวันละ25-30ของพลังงานที่ควรได้รับทั้งวัน
2.อาหารบำบัดโรคตับแข็ง
แพทย์จะสั่งให้ลดหรือเพิ่มปริมาณโปรตีนให้เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละคน
ถ้าเป็นตับแข็งที่มีอาหารทางสมองร่วมด้วย จะลดให้มาเหลือประมาณวันละ2-3ช้อนโต๊ะหรืองดโปรตีนไประยะหนึ่ง
3.อาหารบำบัดโรคมะเร็งตับ
ควรได้รับโปรตีนเพิ่มขึ้นเป็น1.5กรัมต่อน้ำหนักตัว1กิโลกรัม
โรคระบบทางเดินอาหาร
ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหาร
รับประทานอาหารให้ตรงเวลา
รับประทานอาหารอ่อนที่ง่าย
งดสูบบุหรี่
ไม่ควรรับประทานอาหารแต่ละมื้อมากเกินไป
หลีกเลี่ยงสิ่งระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร
ถ้าเครียดพยายามลดความเครียด
หมั่นออกกำลังกาย
รับประทานยาสม่ำเสมอ
อาหารที่เหมาะและไม่เหมาะกับผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหาร
ลักษณะอาหาร
1.อ่อนนุ่ม ไม่มีกากหรือใย ไม่มีเม็ด
2.อาหารมีรสอ่อน
3.ช่วยให้ความเป็นกรดในกระเพาะลดลง
4.เป็นอาหารที่อยู่ในกระเพาะได้นานพอสมควร
เครื่องเทศต่างๆ(ไม่เหมาะ)
จะกระตุ้นให้มีการหลั่งกรดและความระคายเคืองต่อเยื่อบุกระเพาะลำไส้จึงควรหลีกเลี่ยง
เครื่องดื่มจำพวกชา กาแฟ (ไม่เหมาะ)
จะมีคาเฟอีนและแอลกอฮอล์ที่กระตุ้นการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารได้มาก
ผัก ผลไม้ดิบ (ไม่เหมาะ)
มักทำให้เกิดก๊าซและมีอาการแน่นท้อง
ผักที่มีก๊าซมาก
ได่แก่ผักกระถิน ผักกระเฉด กระเทียมดอง กะหล่ำ ข้าวโพดฯลฯ
ผลไม้ที่มีก๊าซมาก
ได้แก่แตงโม แตงไทย ทุเรียน ขนุน น้อยหน่า ฯลฯ
โรคขาดสารอาหาร
ควาชิออร์กอร์
้เป็นโรคขาดโปรตีนและแคลอรี่ ประเภทมีการขาดโปรตีนอย่างมาก
มาราสมัส
เป็นโรคขาดโปรตีนและแคลอรี่ ประเภทที่ขาดทั้งกำลังงานและโปรตีน
อาการและอาการแสดงทางคลินิก
1.หงุดหงิดง่าย น้ำหนัดลด ผอมแห้ง
2.ภาวะบวมกดบุ๋ม
3.เล็บงอเป็นรูปซ้อน
4.เกล็ดกระดี่บริเวณหางตา
5.มีเลือดออกตามไรฟัน
โรคอ้วน
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วย
1.ควบคุมพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
2.ลดการรับประทานอาหารกลุ่มพลังงานสูง
3.เลือกบริโภคอาหารที่มีพลังงานต่ำ
4.เลือกดื่มชา กาแฟ ไม่ใส่น้ำตาล
5.เลือกดื่มน้ำอัดลมที่ไม่มีน้ำตาล
6.เลือกเมนูผ่านการปิ้ง นึ่ง อบ ย่าง ต้ม ตุ๋น แกงไม่ใส่กะทิ
7.เลือกรับประทานกลุ่มเนื้อสัตว์ไขมันต่ำ
8.หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันทรานซ์
โรคเอดส์
อาหารที่เหมาะสม
อาหารกลุ่มแป้ง เช่นข้าว ขนมปัง ธัญพืช เผือก
ผักและผลไม้
เนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว ทานวันละ2-3ส่วนทุกวัน
ผลิตภัณฑ์จากนม เช่นนมสด โยเกิร์ต เนยแข็ง
ไขมันจากน้ำมันพืชที่ใช้ปรุงอาหาร เนย เนยเทียม
สุขลักษณะอนามัยด้านอาหารของผู้ป่วย
หลีกเลี่ยงการทานอาหารดิบ
หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์จากนมที่ยังไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ
อาหารที่สุกแล้วตั้งทิ้งไว้นานควรนำมากอุ่นใหม่ก่อนทาน
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีราขึ้น
ล้างผักและผลไม้ให้สะอาดก่อนรับประทาน
เก็บแยกอาหารที่ไม่ได้ทำให้สุกกับอาหารที่สุกแล้ว
โรคมะเร็ง
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคมะเร็ง
ปัญหาการกิน
1.กินครั้งละน้อย แต่บ่อยขึ้นเป็น5-6มื้อ
2.กินอาหารที่มีโปรตีนสูง
3.กินได้ทั้งไข่แดงและไข่ขาววันละ1-2ฟอง
4.นม เลือกนมวัวไขมันต่ำ
5.สามารถปรุงรสด้วยมะนาวหรือผักสมุนไพรจะช่วยชูรสชาติให้ดีขึ้นได้
6.กินอาหารแช่เย็น
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
1.อาหารเผ็ด
2.อาหารที่ปรุงรสเสร็จกำลังร้อนจัด
3.อาหารหรือผลไม้รสเปรี้ยวจัด
4.อาหารที่มีลักษณะแข็งที่จะทำให้เจ็บเวลาเคี้ยว
พฤติกรรมป้องกันโรคมะเร็ง
1.ไม่รับประทานอาหารที่ขึ้นรา
2.ลดอาหารไขมัน
3.ลดอาหารดองเค็ม
4.ไม่รับประทานอาหารสุกๆดิบๆ
5.หยุดหรือลดการสูบบุหรี่
6.หยุดการเคี้ยวหมาก ยาสูบ
7.ลดการดื่มแอลกอฮอล์