Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.2.2 ภาวะตกเลือดก่อนคลอด - Coggle Diagram
4.2.2 ภาวะตกเลือดก่อนคลอด
รกเกาะต่ำ (placenta previa)
แบ่งออกเป็น
Low – lying placenta
Marginal placenta previa
Partial placenta previa
Total placenta previa
สาเหตุ
อายุ ในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุเกิน 35 ปี
จำนวนครั้งของการคลอด
การผ่าท้องทำคลอดในครรภ์ก่อน
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง เลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่เจ็บ อาการซีดจะสัมพันธ์กับปริมาณเลือดที่ออก ไม่เจ็บครรภ์ หน้าท้องนุ่มไม่แข็งตึง
การตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
MRI
การตรวจภายใน
การรักษา
การรักษาเบื้องต้น
การสังเกตอาการตกเลือด
งดน้ำและอาหารทางปาก
ให้สารน้ำทางเส้นเลือดแทน
การรักษาขั้นต่อไป
พักผ่อนอยู่กับเตียง
vital signs
กรณีให้กลับบ้าน
แนะนำให้นอนพักไม่ทำงานหนัก ห้ามร่วมเพศมาตรวจครรภ์ตามนัด (บ่อยกว่าปกติ) และเมื่อมีเลือดออกจากช่องคลอดอีกให้รีบมาโรงพยาบาล
ทันที
รกลอกตัวก่อนกำหนด (abruption placentae)
ประเภท
ตามความรุนแรง
mild or mildly severe
moderate or moderately severe
severe
แบ่งตามพยาธิสภาพ
Revealed
รกลอกตัวแล้วเลือดไหลออกมาทางปาก
Concealed
รกลอกตัวแล้วเลือดคั่งอยู่หลังรกไม่
ออกมาทางช่องคลอดให้เห็นชัดเจน
Mixed
เลือดที่อกจะแทรกอยู่ระหว่างรกกับผนังมดลูก
สาเหตุ
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การลดขนาดอย่างฉับพลันของมดลูกขนาดใหญ่
แรงกระแทกทางหน้าท้อง
ผลจากหัตถการของแพทย์
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
พบเลือดออกทางช่องคลอด มีอาการปวดท้องร่วมด้วย
มดลูกหดรัดตัวมาก หรือแข็งเกร็ง
กดเจ็บที่มดลูก
เสียเลือดอาจไม่สัมพันธ์กับปริมาณเลือดออกทางช่องคลอด
ระดับยอดมดลูกสูงขึ้น
การตรวจภายใน
คลำไม่พบรก
การตรวจรกหลังคลอด
จะพบมีเลือดคั่งอยู่ที่หลังรก
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
การใช้คลื่นเสียงความถี่สูง
การรักษา
แก้ไขภาวะซีด ภาวะ hypovolemia ภาวะขาดออกซิเจน และความไม่สมดุลย์ของอีเลค
โตรไลท์
ถ้ามีภาวะ consumptive coagulopathy แก้ไขโดยการให้FFP
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยเร็ว
มดลูกแตก (rupture of the uterus)
พยาธิสภาพ
Complete rupture รอยแตกทะลุชั้น peritoneum
Incomplete rupture รอยแตกไม่ทะลุชั้น peritoneum
ภาวะที่มีการฉีกขาดของผนังตัวมดลูกที่ตั้งครรภ์
ชนิดของภาวะมดลูกแตก
การแตกของแผลเป็นเก่าที่ตัวมดลูก
การแตกของมดลูกปกติเนื่องจากได้รับอันตรายบาดเจบ
การแตกขึ้นเองของมดลูก
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดงเตือนว่ามดลูกจะแตก
มดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา (tetanic contraction)
ปวดท้องน้อยบริเวณเหนือหัวหน่าวอย่างรุนแรง จนกระสับกระส่าย
กดเจ็บบริเวณเหนือหัวหน่าว (suprapubic tenderness)
พบ Bandl’s (pathological retraction) ring
อาการและอาการแสดงของมดลูกที่แตกแล้ว
อาการปวดท้องน้อย จะทุเลาลง
บางรายพบมีเลือดออกทางช่องคลอด
มีอาการช็อค
การดูแลรักษา
แก้ไขภาวะช็อค
ผ่าท้องทำคลอด
Exploratory laparotomy ทุกรายทันที
เย็บซ่อมแซมหรือตัดมดลูก
การแตกของ vasa previa
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
ก่อนถึงน้ำคร่ำแตก
การตรวจภายในเห็นหรือคลำพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะ
Amnioscopy เห็นเส้นเลือดทอดบนเยื่อถุงน้ำคร่ำชัดเจน
เสียงหัวใจของทารกเปลี่ยนแปลง
หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
มีีเลือดออกทางช่องคลอด
Singer test, APT test จะพบรอยฉีก
ขาดของเส้นเลือดที่ทอดอยู่บนเยื่อหุ้มทารก
ตรวจรกและถุงน้ำคร่ำ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงโดยเฉพาะชนิด Color flow Doppler
การรักษา
ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำแตก ให้ผ่าท้องทำคลอด
ถ้าวินิจฉัยได้หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้วต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงทันที