Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Biophysical Assessment :tada: - Coggle Diagram
Biophysical Assessment :tada:
การตรวจด้วยคลืนเสียงความถีสูง (Ultrasound)
:red_flag:
ข้อบ่งใช้ :check:
อายุครรภ์ 7-10 สัปดาห์ ใช้ตัววัดคือ CRL
อายุครรภ์ 10-14 สัปดาห์ ใช้ตัววัดคือ CRL, BPD , FL และ HL
อายุครรภ์ 15-28 สัปดาห์ ใช้ตัววัดคือ BPD, FL, HL, HCและ Binucular distance :star:
อายุครรภ์ 29 สัปดาห์ขึนไป ใช้ตัววัดคือ HC, Binucular distance, BPD, FL, HL
บทบาทพยาบาล :check:
ให้คําปรึกษา งดนางดอาหารในบางกรณี เช่น ครรภ์นอกมดลูก, รกเกาะตาทีต้องผ่าตัด ถ้าหญิงตังครรภ์ให้มี bladder full ดืมนา 1 - 2 แก้ว ก่อนตรวจอย่างน้อย 1 ชัวโมง เตรียมอุปกรณ์และสถานทีตรวจ โดยกันม่านให้เรียบร้อย จัดให้นอนหงายหัวสูงเล็กน้อย ทําความสะอาดหน้าท้องหลังตรวจ บันทึกผล
Amniotic fluid volume measurement :no_entry:
การตรวจ Biophysical profile (BPP)
ระยะเวลาทีเหมาะสม :check:
ควรตรวจเมืออายุครรภ์ 7-10 สัปดาห์ผิดพลาดไม่เกิน 5 วัน หากตรวจในระยะที 2 ของการตังครรภ์ (15-28 สัปดาห์) จะมีความคลาดเคลือนจากทีประเมินไป 1สัปดาห์ :warning:
การตรวจ Biophysical profile (BPP) :red_flag:
ข้อบ่งชีในตรวจ :check:
หญิงตังครรภ์ทีมีความเสียงสูง
ความดันโลหิตสูงในขณะตังครรภ์ เบาหวาน ทารกโตช้าในครรภ์ เจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด หรือครรภ์เกินกําหนด
การแปลผลการตรวจ :check:
คะแนน 8 – 10 คะแนน แปลผล ปกติ :warning:
คะแนน 4 – 6 คะแนน แปลผล ผิดปกติ ควรเฝาติดตามอาการเปลียนแปลงอย่างใกล้ชิด :warning:
คะแนน 0 - 2 คะแนน แปลผล ผิดปกติ ควรยุติการตังครรภ์ :red_cross:
บทบาทของพยาบาล :check:
ติดตามผลการตรวจเพือจะช่วยให้สามารถนํามาวางแผนการให้การพยาบ าลอย่างเหมาะสมกับปญหาของหญิงตังครรภ์ :red_cross:
การขอความร่วมมือในการตรวจและผ่อนคลายค วามวิตกกังวลและความกลัวต่าง ๆ :warning:
อายุครรภ์ 28-30 สัปดาห์ขึนไป ทํา สัปดาห์ละ 1-2 ครัง หรือทําทุกวันขึนกับข้อบ่งชีหรือความเสียงในแต่ละราย
:check:
การนับจํานวนการดิ้นของทารกในครรภ์ :check:
Liston :recycle:
เหมือนวิธีของ Pearson
ดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งใน 12 ชั่วโมง แสดงว่าเกิดภาวะ DFM
ตังแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์
Pearson :green_cross:
ตังแต่ 09.00 น จนครบ 10 ครัง ซึงไม่ควรเกิน 12 ชัวโมง (ถึง 21.00 น) :red_cross:
ดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งใน 12 ชั่วโมง แสดงว่าเกิดภาวะ decrease of fetal movement
:<3: :black_flag: :red_flag:
ตังแต่อายุครรภ์ 32 สัปดาห์ :!!:
Sadovaski, Yaffe, Wood และคณะ :fire:
ในช่วงเวลา 12 ชัวโมง (08.00 – 20.00 น)
ถ้าน้อยกว่า 10 ครังใน 12 ชัวโมงใน 2 วัน ติดกันถือว่าเปนสัญญาณอันตราย
ในแต่ละช่วงเวลานันถ้าทารกดินน้อยกว่า 3 ครัง ควรต่อเวลาในการนับไปอีก 1 ชัวโมง
วันละ 3 ช่วง ได้แก่ 1 ชัวโมงตอนเช้า 1 ชัวโมงตอนเทียง และ 1 ชัวโมงตอนเย็น
การฉายรังสีเอ๊กซเรย์ :red_flag:
ทําได้เมืออายุครรภ์ 20 สัปดาห์ขึนไป เพือดู fetal skeletal
วินิจฉัยภาวะทารกตายในครรภ์ :check:
👕🧧Spalding’s sign เกิดจากการซ้อนกันของกระดูกกะโหลกของทารก ในทารกทีตายแล้า
Deuel’s sign เกิดจากการคังของของเหลวระหว่างชั้นไขมันของหนัง📍ศีรษะและกะโหลกในทารกที่ตายแล้ว
บทบาทของพยาบาล :check:
รังสี ควรอธิบายให้ทราบถึงความจําเปนและการปฏิบัติตัวระหว่างการตรวจ :star:
ควรให้การพยาบาลเหมือนการพยาบาลมารดาทีสูญเสียทารก :warning:
เตรียมวางแผนการพยาบาลอย่างเหมาะสมกับหญิงตังครรภ์แต่ละราย
Amniotic fluid volume measurement
:check:
วัดดัชนีปริมาณน้ำคร่ำ :star:
ถ้าน้อยกว่า 5 ซมถือว่า มีภาวะนาคราน้อย (Oligohydramnios) :<3:
ค่าปกติ คือ 5 – 24 ซม :forbidden:
ถ้ามากกว่า 25 ซม ถือว่า มีภาวะนาครามากกว่าปกติ (Polyhydramnios) :warning:
วัดแอ่งลึกทีสุดของน้ำคร่ำ:red_flag:
มากกว่า 8 ซม ถือว่า มีภาวะนาครามากกว่าปกติ (Polyhydramnios หรือ Hydramnios ) :green_cross:
ค่าปกติ คือ 2.1 – 8 ซม
อยู่ระหว่าง 0 – 2 ซม ถือว่า มีภาวะนาคราน้อย (Oligohydramnios)