Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทงานเพื่อการดำรงชีวิต - Coggle Diagram
ประเภทงานเพื่อการดำรงชีวิต
2.การเกษตร
งานเกษตร
คือ การปฏิบัติกับที่ดินเพื่อให้เกิดผลผลิต ทั้งการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ การทำประและการเกษตรผสมผสานโดยอาศัยความรู้ ความชำนาญ ประสบการณ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และเงินทุนมงเพื่อให้พืชและสัตว์เจริญเติบโตให้ผลผลิตต่างๆ
ความสำคัญของการเกษตร
การเกษตรมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ มนุษย์รู้จักใช้ประโยชน์อย่างมากมายจากพืช สัตว์ ทั้งในชีวิตประจำวันและการดำรงชีวิต และการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประเทศไทยประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำให้การเกษตรมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศเนื่องจากรายได้ส่วนใหญ่ของประเทศมาจากสินค้าเกษตรเป็นสำคัญ
ประเภทของการเกษตร
1.การปลูกพืช
1.1 พืชสวน
1.2 พืชไร่
2. การเลี้ยงสัตว์
เพื่อไว้ใช้บริโภค
เพื่อไว้ใช้แรงงาน
เพื่อประกอบอาชีพ
เพื่อเสริมรายได้
เพื่อใช้ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ทำเครื่องนุ่งห่มของใช้และรักษาโรค
เพื่อความสวยงามและความเพลิดเพลิน
เพื่อใช้ประโยชน์ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์หรือทางการแพทย์
3. การประมง
3.1 การทำประมงน้ำจืด
3.2 การทำประมงน้ำเค็ม
3.3 การทำประมงน้ำกร่อย
4. การเกษตรแบบผสมผสาน
4.1 เกษตรทฤษฎีใหม่
4.2 การเกษตรแบบยังชีพ
4.3 การเกษตรธรรมชาติ
4.4 การเกษตรแบบยั่งยืน
1.งานบ้าน
งานบ้าน
หมายถึง งานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาบ้าน และการบริการบุคคลในบ้าน ซึ่งต้องปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ โดยสมาชิกทุกคนจะต้องมีการแบ่งหน้าที่กันตามความถนัดของแต่ละคนและร่วมมือกันทำ เพื่อให้ทุกคนร่วมดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข
ความสำคัญของงานบ้าน
เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทำให้บ้านสะอาดและน่าอยู่อาศัย และยังท าให้เกิดความสะดวกสบาย หยิบจับใช้สอยสิ่งต่าง ๆประเภทของงานบ้าน แบ่งออกเป็น 6 ประเภท
1.งานประกอบอาหาร
ได้แก่ งานเตรียมและประกอบอาหาร งานจัดโต๊ะอาหาร
2.งานซักรีดซ่อมแซม และดัดแปลงเสื้อผ้า
ได้แก่ งานซักผ้า งานเก็บพับเสื้อผ้า งานรีดผ้า งานจัดตู้เสื้อผ้า งานซักผ้าปูที่นอน งานซักปลอกหมอน งานซักผ้าห่ม งานซ่อมแซมเสื้อผ้าที่ชำรุด งานดัดแปลงเสื้อผ้า
3.งานท าความสะอาดเครื่องเรือนเครื่องใช้ในบ้าน
ได้แก่ งานทำความสะอาดโต๊ะอาหาร งานทำความสะอาดเตาแก๊ส งานทำความสะอาดพัดลม งานทำความสะอาดเครื่องใช้อื่น ๆ
4.งานจัดตกแต่งและดูแลบ้าน
ได้แก่ งานเก็บที่นอน งานปัดกวาด เช็ดถูพื้นห้องทุกห้องภายในบ้านเป็นต้น
5.งานดูแลช่วยเหลือเด็กและคนชรา
ได้แก่ งานจัดให้รับประทานอาหาร งานดูแลความสะอาดร่างกายเป็นต้น
6.งานดูแลสัตว์เลี้ยง
ได้แก่ งานให้อาหารสัตว์ งานท าความสะอาดร่างกายสัตว์งานตรวจโรค
การวางแผนทำงานบ้าน
คือ การกำหนดแนวปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า ว่าจะทำอย่างไร ทำเมื่อไร ทำโดยวิธีใด ใครเป็นผู้ทำและกำหนดงานเสร็จเมื่อไร
4.งานประดิษฐ์
ความสำคัญและประโยชน์ของงานประดิษฐ์
4.ฝึกการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สามารถทำงานได้อย่างมีสมาธิและมีความสุข ในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
5.ฝึกให้นักเรียนรู้จักประหยัด สามารถนำสิ่งของที่เหลือใช้มาทำให้เกิดประโยชน์มากที่สุด โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการลงทุนมากนัก
3.ให้นักเรียนรู้จักใช้และดูแลรักษาเครื่องมืออย่างถูกต้องและเหมาะสมกับประเภทของงานประดิษฐ์
7.สามารถเพิ่มพูนรายได้ให้กับผู้ประดิษฐ์ โดยการนำออกไปจำหน่ายในโอกาสต่าง ๆและสร้างเป็นอาชีพได้ในอนาคต
2.ฝึกให้รู้จักการวางแผนทำงานอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอนการปฏิบัติเป็นการสร้างระเบียบวินัยให้ตนเอง และมีนิสัยรักในงานประดิษฐ์
6.เป็นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ให้มีการสืบทอดและพัฒนาต่อไปจากภูมิปัญญาเดิมสู่การเรียนรู้ที่มากขึ้นและเป็นผลงานของคนไทย
1.ฝึกให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สร้างผลงานให้มีรูปร่างแปลกใหม่และพัฒนางานประดิษฐ์เดิมให้สามารถใช้ประโยชน์ขึ้น สามารถน าวัสดุที่มีในท้องถิ่น มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
8.เกิดความภาคภูมิใจในชิ้นงานของตนเอง ทำให้ผู้อื่นยอมรับในความสามารถของตนเองในระดับหนึ่ง
ง
านประดิษฐ์
หมายถึง การนำเศษวัสดุหรือวัสดุต่างๆ มาดัดแปลงและประกอบกันให้เกิดประโยชน์เป็นของเล่น ของใช้ หรือของประดับตกแต่ง
ลักษณะของงานประดิษฐ์ สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท
1.งานประดิษฐ์ทั่วไป
เป็นงานประดิษฐ์ที่ไม่มีความเป็นมาจากบรรพบุรุษหรือท้องถิ่น
2.งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย
เป็นงานประดิษฐ์ที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษหรืองานประดิษฐ์ที่มีเฉพาะในท้องถิ่นนั้น ๆ โดยส่วนมากจะเป็นการสืบทอดจากผู้ใหญ่ในครอบครัวมาสู่ลูกหลาน งานประดิษฐ์หลายอย่างทำขึ้นเพื่องานประเพณีทางวัฒนธรรม
หลักการทำงานประดิษฐ์
2.วางแผนการทำงาน กำหนดขั้นตอนการทำงานให้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา แรงงาน ค่าใช้จ่าย
3.การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทำงานประดิษฐ์ไว้ให้ครบถ้วน
1.ศึกษารายละเอียดของงานที่จะน ามาประดิษฐ์ให้เข้าใจ ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบต่าง ๆ ของงานและเลือกทำสิ่งประดิษฐ์ให้เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของตนเอง และเป็นสิ่งที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
4.ลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ขณะที่ทำการประดิษฐ์ เมื่อเกิดปัญหาไม่ควรท้อถอย ควรปรึกษาครูหรือผู้ที่มีความสามารถ
การออกแบบงานประดิษฐ์
การออกแบบ
หมายถึงการแสดงความคิด การวางแผน เพื่อกำหนดรูปแบบผลงานที่ต้องการก่อนทำงานประดิษฐ์ โดยการร่างภาพเขียนด้วยดินสอและไม้บรรทัดเท่านั้น การออกแบบมีความส าคัญมากเพราะผู้ออกแบบต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์การดัดแปลง แก้ผลงาน ให้มีรูปร่างแปลกใหม่ การออกแบบที่ดีจะช่วยให้การทำงานได้สะดวกรวดเร็วขึ้นผลงานสำเร็จตรงตามต้องการไม่มีผิดพลาด
หลักการออกแบบ
3.ความกลมกลืน คือ การออกแบบวัตถุให้มีรูปทรงที่ไปด้วยกันได้ สีก็ต้อกลมกลืนกันการใช้แสงและเงาที่ไปด้วยกันได้
4.ความแตกต่าง คือการใช้ส่วนประกอบของการออกแบบที่ไม่ซ้ำกัน ใช้สีที่ไม่เหมือนกัน
2.สัดส่วน หมายถึง การได้ส่วนกันของสิ่งที่ออกแบบ
5.การเน้นให้เกิดจุดเด่น คือ การออกแบบที่ท าให้เกิดจุดเด่นสะดุดตา ทำให้น่าสนใจ น่าดู อาจเน้นสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพียงอย่างเดียวก็ได้ เช่น สี เส้น รูปร่าง
1.ความสมดุล
3.งานช่าง
ช่าง
หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และชำนาญในงานหรือในศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง
ความสำคัญของงานช่าง
เมื่อผู้เรียนได้เรียนรู้งานช่างในแต่ละสาขา และได้ทดลองปฏิบัติเพียงเล็กน้อยก็สามารถทำได้ด้วยตนเอง ซึ่งได้แก่ งานซ่อมแซม บำรุงรักษาเครื่องใช้บางอย่างภายในบ้าน
ประโยชน์ของงานช่าง
คือ สดุ ช่วยทำให้เกิดความประหยัด ทำให้ยืดอายุการใช้งานของเครื่องมือ เครื่องใช้ บางครั้งสามารถใช้ความรู้สามารถใช้เครื่องมือ เครื่องใช้สอยได้อย่างถูกต้อง เข้าใจคุณสมบัติของซ่อมแซมแก้ไข ข้อขัดข้องที่เกิดกับอุปกรณ์ได้ตรวจสอบความบกพร่องอุปกรณ์หากเราพัฒนาฝีมือความรู้จนเกิดความชำนาญ ก็ยังสามารถที่จะเพิ่มรายได้ให้กับตนเองโดยประกอบเป็นอาชีพเสริม หรืออาชีพหลักเพื่อเพิ่มรายได้ ต่อไป
ลักษณะของงานช่าง จำแนกตามลักษณะงาน
1.งานเขียนแบบ
2.งานไฟฟ้า
3.งานช่างยนต์
4.งานโลหะ
งานประปา
6.งานไม้
7.งานปูน
งานสี