Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด - Coggle Diagram
5.2 ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด
1.โลหิตจางระหว่างตั้งครรภ์ (Anemia in pregnancy)
เกณฑ์กำหนด
การลดลงอย่างผิดปกติของ Hb จากการ สร้างหรือทำลาย
Hb < 10 gm/dl, Hct < 30 %
WHO : Hb < 11 gm/dl
CDC
Hb < 11 gm/dl in first trimester
Hb < 10.5 gm/dl in second trimester
การจำเเนกภาวะโลหิตจาง
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
โลหิตจางจากการสร้างลดลง
โลหิตจางจากการเพิ่มทำลาย
ผลของโลหิตจางต่อมารดาและทารก
เพิ่มโอกาสการแทั้งและการคลอดก่อนกำหนดมากน้อยแล้วแต่ความรุนแรงของโรค
อุบัติการณ์ของ Pregnancy induce hypertension สูงขึ้น
มีโอกาสติดเชื้อในระยะตั้งครภ์ ระยะคลอด และหลังคลอดสูงกว่าปกติ เนื่องจากภาวะของโรคทั
ให้ร่างกายไม่สมบูรณ์ มีความต้านทานต่ำ
เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อภาวะหัวใจวายสูงขึ้น เริ่มจากหัวใจมีการทำงานเพิ่มขึ้นเพื่อให้เลือดไหลเวียนไปเลี่้ยงส่วนต่างๆองร่างกาย
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ทารกตายในครรภ์
ทารกน้ำหนักน้อย เพิ่มอัตราตายปริกำเนิด
ถ้ามารดามีภาวะโลหิตจางจาก Thalassemia ทารกมีโอกาสเป็นโรคหรือพาหะของโรค
โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
(Iron deficiency anemia)
มี 3 ระยะ
Iron stores depletion
เป็นระดับที่เริ่มมีการขาดธาตุเหล็กในแหล่งสะสม ผู้ป่วยไม่มีอาการผิดปกติใดๆ แสดงให้เห็นจะเริ่มตรวจพบความผิดปกติได้เฉพาะการตรวจทางห้องปฏิบัติการเท่านั้น โดยจะเริ่มพบระดับferritin ต่ำกว่าปกติ
Iron deficiency erythropoiesis
เป็นระดับที่ธาตุเหล็กในแหล่งสะสมหมดไป ทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดงเริ่มมีปัญหาขาดธาตุเหล็ก ที่ใช้สังเคราะห์ฮีโมโกลบิน แม้ผู้ป่วยจะยังไม่แสดงอาการ จากภาวะโลหิตจางให้เห็น แต่พบว่าระดับของธาตุเหล็กในเลือดลดลง
Iron deficiency anemia
เป็นระดับที่มีภาวะโลหิตจางจากการ ขาดธาตุเหล็กเกิดขึ้นแล้ว คือระยะที่มีเกิดภาวะโลหิตจางขึ้นแล้วนั่นเอง ผู้ป่วยจะมีอาการจากภาวะโลหิตจางชัดเจน
การวินิจฉัย
ประวัติที่บ่งบอกได้ถึงความรุนแรงของโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Screening of anemia: CBC (Hb, Hct, MCV)
Diagnosis of IDA
MCV <80fl, MCHC<30% , MCH <30 mch/L, RC <4.1 mil/mm3 , PBS
Evidence of depleted iron stores
Low serum iron < 30 mcg/dl
High total iron binding capacity (TIBC) > 350 mcg/dl
Low transferrin saturation < 16 %
Low serum ferritin <10-15 mcg/L
การป้องกัน
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ทกุรายควรได้รับการเสริมธาตเุหล็ก 60 mg ทกุวันตลอดการตั้งครรภ์
ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตเุหล็ก
การรักษา
การให้รับประทานธาตเุหลก็ขนาดรักษา
คือวันละ 200 มิลลกิรัม
การให้ธาตเุหล็กผ่านทางหลอดเลือดดำ
การให้ธาตเุหล็กผ่านทางหลอดเลือดดำ
3.Thalassemia in pregnancy
:check:1. α - thalassemia โครโมโซมคู่ที่16
homozygous α -thalassemia1, α -thal 1/ α thal 1, hemoglobin Bart,s hydrops fetalis
hemoglobin H/ Constant Spring, α -thal1/ Hb Constant Spring
hemoglobin H; Hb H, α -thal 1/ α -thal 2 - homozygous hemoglobin Constant Spr
homozygous hemoglobin Constant Spring
:check:2. β – thalassemia โครโมโซมคู่ที่11
homozygous βo-thalassemia
βo-thalassemia/hemoglobin E - homozygous
hemoglobin E; HbE/ Hb
:check:การแบ่งระดับของความรุนแรงของโรค
Thalassemia major (Transfusiondependent thalassemia: TDT) คือ กลุ่มที่มีอาการรุนแรงจำเป็นต้องได้เลือดเป็นประจำ
Thalassemia intermedia (halassemia: NTDT) คือ กลุ่มที่มีอาการรุนแรงน้อยถึงปานกลาง
:check:การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
:check:การคัดกรองและการวินิจฉัย
การตรวจ Complete blood count: CBC
1.การตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ที่มา
ฝากครรภ์ครั้งแรก (screening)
ประวัติทางสูติกรรม
ประวัติของครอบครัวและโรคทางพันธุกรรม
ซักประวัติความเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบันประวัติทางสูติกรรม
ความผิดปกติในการคลอดบตุรคนก่อน
การตรวจค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง
(red blood cell indices) ประกอบด้วย
mean corpuscular hemoglobin (MCH)
ค่าปกติ27-31 picograms (pg)
mean corpuscular volume (MCV)
ค่าปกติ80-100 femtolitres (fl)
4.OFT (osmotic fragility test)
เป็นการทดสอบความเปราะของเม็ดเลือดแดง
:checkered_flag::
Positive เป็นพาหะ α–thalassemia 1, α–thalassemia 2, Hb constant Spring (Hb CS) หรือ Homozygous α–thalassem
:checkered_flag::Negative ไม่เป็นพาหะของ α–thalassemia 1และ β–thalassemia แตอ่าจจะเป็น พาหะของ α–thalassemia 2 หรือ Hb CS หรือ Hb E
DCIP (dichlorophenol-indophenol precipitation test) เป็นสารละลายที่สามารถออกซิไดซ์ ฮีโมโกลบิน
:cry:
DCIP ให้ผลบวกแสดงว่า บคุคลนนั้มี unstable hemoglobin
เช่น HbE, HbH
:smiley:DCIP ให้ผลลบแสดงว่าบุคคลนั้นไม่มี unstable hemoglobin
การทดสอบโดยวิธีมาตรฐาน มีวิธีที่นิยมใช้คือ
6.1 การตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน
HbA2 (hemoglobin typing & quantitation)
6.2 การตรวจ PCR เพื่อยืนยนัการเป็นพาหะของ α-thalassemia 1 และ β-thalassemia
การวินิจฉัยทารกก่อนคลอดในรายที่คู่สมรส
เสี่ยงต่อการเกิดโรค
2.การเจาะเลือดสายสะดือทารก (cordocentesis)
3.การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง (Doppler ultrasound)
1.การตัดชิ้นเนื้อรก(chorionic villous sampling; CVS)
4.การเจาะน้ำคร่ำ
:check:ผลกระทบของThalassemia in pregnancy
ต่อมารดา
โรคหัวใจ
ติดเชื้อ
ตกเลือด
Pre-eclampsia
ต่อทารก
Fetal distress
IUGR
Preterm
ตายปริกำเนิด
:check:การรักษา
อาหารแนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและกรด โฟลิกมาก
ยา ควรให้ยาเม็ด Folic acid (5 mg) วันละครึ่ง-1เม็ด
การรักษาความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ในทารกที่เป็น hydrops fetalis
การให้เลือดควรให้เลือดทกุรายในรูปเม็ดเลือดแดงเข้มข้น (Pack red cell)ไม่ควรเกิน1 unit เนื่องจาก 1 unit มีเหลก็ประมาณ 200-250 mg
การให้ยาจับธาตเุหล็ก ยาที่ใช้คือ desferrioxamine(desferal) ฉีดทางใต้ผิวหนังหรือหลอด เลือดดำ 50-60มิลลกิรัม/กิโลกรัม/วัน ระยะเวลาฉีด วันละ 8-12ชั่วโมง และ 5-7วัน/สัปดาห์
การตัดม้าม
:<3:การพยาบาล
ก่อนตั้งครรภ์
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
การให้ข้อมลูเกี่ยวกับอัตราเสี่ยง
การให้ข้อมลูเกี่ยวกับโรค
การประเมินอตัราเสี่ยง
การให้ข้อมลูเกี่ยวกับทางเลือกเพื่อ หลีกเลี่ยงการมีบตุรเป็นโรค
การวินิจฉัยโรค
ระยะตั้งครรภ์
การประมินเด็กดิ้น
การรับประทานอาหาร
การพักผ่อน
ความรู้
ดูแลในคลินิคเสี่ยงสูง
การป้องกันการติดเชื้อ
การให้ธาตุเหล็ก/Folic acid
ยุติการตั้งครรภ์
ระยะคลอด
การพักผ่อน
การได้รับสารน้ำ/สารอาหาร
V/S
สุขภาพทารกในครรภ์
การบรรเทาความเจ็บปวด