Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Bone Fracture ภาวะทกี่ระดูกได้รับแรงกระแทกมากเกินไป - Coggle Diagram
Bone Fracture
ภาวะทกี่ระดูกได้รับแรงกระแทกมากเกินไป
การดูแลดามกระดูก
กระดกูปลายแขนหัก
ใช้ไม้แผ่นแบนๆหรือหนังสือพิมพ์พับหนาๆให้มีความยาวตั้งแต่ปลายนิ้วถึงข้อศอกใช้เป็นเฝือก
พันด้วยเชือกหรือผ้ายึดให้กระชับใช้ผ้คล้องคอห้อยแขนข้งที่หักไว้
กระดูกแขนและไหปลาร้าหัก
ใช้ผ้าคล้องแขนแล้วผูกกับคอใช้ผ้าอีกผืนพันรัดแขนข้างที่หักให้ติดกับลำตัว
กระดูกแขนหักบริเวณข้อศอกอาจจะหักตอนปลายของกระดูกต้นแขนหรือส่วนบนของกระดูกปลายแขนอย่าพยายามงอแขน
เพื่อคล้องแขนให้ดามแขนในลักษณะตรง
กระดกูขาท่อนล่างหัก
ใช้เฝือก 2 ชิ้นโดยชิ้นหนึ่งยาวตั้งแต่สั้นเท้าถึงใต้รักแร้อีกชิ้นยาวตั้งแต่สันเท้าถึงโคนขา
แล้วใช้ผ้าผูกเผือกทั้ง 2 ให้ติดกับขาข้างที่หัก
ถ้าไม่มีเผือกให้ผูกขาทั้ง 2 ข้างติดกันถ้ามีบาดแผลหรือกระดูกโผล่อย่าพยายามล้างทำความสะอาดถ้ามีเลือดออกใช้ผ้าปิดแผลห้ามเลือดก่อน
กระดูกเชิงกรานหัก
ใช้วิธีผูกขาทั้ง 2 ข้างติดกันโดยสอดผ้าสามเหลี่ยมพับกว้างๆ 2 ข้างไว้ใต้ตะโพกและเชิงกราน
ผูกปมตรงกลางลำตัววางผ้านุ่มๆระหว่างขาทั้ง 2 ข้างบริเวณเข่าและข้อเท้า
จากนั้นผูกติดกันด้วยผ้าสามเหลี่ยมพับผูกเป็นเลข 8 และผูกผ้ารอบเข่าทั้ง 2 ข้าง
กระดูกสันหลังหัก
จะมีอันตรายร้ายแรงกว่ากระดูกสันหลังสวนล่างหัก
ดังนั้นการเคลื่อนย้ายต้องทำด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษเพราะส่วนที่หักอาจจะไปกดหรือบาดไขสันหลังให้ขาดได้ก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตหรือไม่ก็เป็นอัมพาต
ไม่แนะนำให้ทำการเคลื่อนย้ยผู้ป่วยเองควรแจ้งขอความช่วยเหลือจากหน่วยแพทย์
การแบ่งประเภท
แบ่งตามลักษณะแผล
Closed Fracture
Open Fracture
แบ่งตามลักษณะการหัก
Simple Fracture
Compression Fracture
Spiral Fracture
Greenstick Fracture
Comminuted Fracture
Transverse Fracture
Oblique Fracture
Avulsion Fracture
Impacted Fracture
Stress Fracture
Pathologic Fracture
สาเหตุ
ถูกตีหรือได้รับแรงกระแทก อย่างรนุแรง
ประสบอุบัติเหตุ
ตกลงมาจากที่สูง
ได้รับแรงกระแทกจาก การเคลื่อนไหว
ในกรณีของเด็กที่กระดูกหัก อาจเกิดจากการถูทารุณกรรม
ป่วยเป็นโรคกระดูกพรุน หรือมะเร็งบางชนิด
อาการ ของกระดูกหัก
ปวดกระดูกรอบๆ อาการจะแย่ลงเมื่อเครื่องไหว
อาการบวมบริเวณ กระดูกที่ได้รับบาดเจ็บ
อวัยวะผิดรูป เกิดการหักบิดในลักษณะที่ผิดปกติ
เคลื่อนไหวแขนขาได้น้อย หรือเคลื่อนไหวไม่ได้เลย
รู้สึกชา และเกิดเหน็บชา
เกิดกระดูกทมิ่ผิวหนังออกมา
วินิจฉัย การรักษา
X-RAY
MRI
CT scan
การจัดเรียงกระดูก
ใส่เฝือก
การผ่าตัด