Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.2 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์…
บทที่ 4.2 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
2.ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
2.4 พยาธิวิทยา
เกิดจากมีการฉีกขาดของเส้นเลือดของรกทําให้เกิดเลือดออกในชั้น deciduas basalis เลือดที่ออกในตอนแรกจะเกิดเป็น decidual hematoma
ก้อนเลือดเหล่านี้จะเซาะแทรกเข้าไประหว่างรกและผนังมดลูกผลที่ ตามมาคือทําให้มีการฉีกขาดของเส้นเลือดเพิ่มมากขึ้นมีเลือดออกมากขึ้นและพื้นที่ที่รกลอกตัวก็เพิ่ม มากขึ้นด้วยจนในที่สุด รกลอกตัวหลุดหมดทั้งอัน
2.5 การวินิจฉัย
อาการแสดงของการเสียเลือดไม่สัมพันธ์กับปริมาณเลือดที่ออก
คลำส่วนของทารกไม่ชัดเจน
มดลูกหดรัดตัวมากหรือแข็งเกร็ง มีอาการเจ็บครรภ์
กดเจ็บที่มดลูก (uterine tenderness)
การตรวจพิเศษอื่นๆ U/S
การตรวจภายใน
คลําไม่พบรก
ถุงน้ำคร่ำตึง
Fetal distress
ระดับยอดมดลูกสูงขึ้น
การตรวจรกหลังคลอด
รอยถูกกดบริเวณรกด้านแม่
พบมีเลือดคั่งอยู่ที่หลังรก
2.3 การจำแนกประเภท
แบ่งตามพยาธิสภาพ
Internal hemorrhage
รกลอกตัวแล้วเลือดคั่ง อยู่หลังรกไม่ออกมาทางช่องคลอด
combined hemorrhage
externalhemorrhage
รกลอกตัวแล้วเลือดไหลออกมาทางปากช่องคลอด
แบ่งตามลักษณะทางคลินิก
Grade 1 mild
Grade 2 moderate
Grade 3 severe
2.6 การรักษา
มีภาวะ consumptive coagulopathy
ให้ FFP
Cryoprecipitate
พยายามป้องกันและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการใช้ heparin fibrinogen หรือ antifibrinolytic agent ต่างๆ
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยเร็ว
แก้ไขภาวะซีด ภาวะ hypovolumia ภาวะขาดออกซิเจนและความไม่สมดุลของอิเลคโตรไลท์
ในรายที่อายุครรภ์น้อย ไม่มี fetal distress รักษาแบบประคับประคอง
2.2 สาเหตุ
มีประวัติภาวะรกลอกตัวก่อนกําหนดในครรภ์
จํานวนครั้งของการตั้งครรภ์ (parity)
สายสะดือสั้น
ภาวะความดันสูงขณะตั้งครรภ์
ความผิดปกติที่รกเอง
Chorihemangioma
Circumvallate placenta
ผลจากหัตถการของแพทย์(iatrogenictrauma)
การหมุนกลับตัวเด็กทางหน้าท้อง
แรงกระแทกทางหน้าท้อง (trauma)
การออกแรงกดต่อ inferior vena cava
ความผิดปกติหรือเนื้องอกของมดลูก (myoma uteri)
การลดขนาดอย่างฉับพลันของมดลูกขนาดใหญ่
ครรภ์แฝดน้ำ
ถุงน้ำคร่ำแตกในครรภ์ก่อนกำหนด
ปัจจัยเสี่ยงบางอย่าง
การสูบบุหรี่
การดื่มแอลกอออล์
การเสพโคเคน
2.8 การพยาบาล
1.สังเกตอาการและอาการแสดงของรกลอกตัว ได้แก่อาการปวดท้อง การแข็งตัวของมดลูก
2.งดการตรวจภายในหรือ ตรวจทางทวารหนัก
4.ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์นอนพักในท่านอนตะแคงซ้าย
6.ถ้าคลอดทางช่องคลอดดูแลช่วยเหลือการเร่งคลอดโดยการเจาะถุงน้ำคร่ำ
7.เตรียมคลอดทางหน้าท้องทันทีถ้าอาการรุนแรงมากขึ้น
ระยะหลังคลอดควรติดตามการหดรัดตัวของมดลูก
3.ให้ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับสาเหตุ อาการการรักษาและผลกระทบ
5.ประเมินระดับความเจ็บปวด
8.สังเกตอาการแสดงที่นําสู่ภาวะ DIC
2.1 ความหมาย
ภาวะที่การลอกตัวของรกที่เกาะในตำแหน่งปกติ ภายหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์จนถึงก่อนคลอด
2.7 ภาวะแทรกซ้อน
การคลอดก่อนกําหนด (prematurity)
ภาวะ asphyxia
ทารกตายในครรภ์
1.ความหมาย
การมีเลือดออกทางช่องคลอดหลังอายุ 20 สัปดาห์
น้ำหนักทารกเกิน 1000 กรัม
3.ภาวะรกเกาะต่ำ(Placenta previa)
3.4 การวินิจฉัย
2.การตรวจหาตำแหน่งรกเกาะ
Placentography
U/S
MRI
3.การตรวจภายใน
1.จากประวัติอาการและอาการแสดง
ฟังเสียงหัวใจทารกได้
คลําทารกได้
ไม่เจ็บครรภ์
เลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่เจ็บ (painless bleeding)
อาการซีดจะสัมพันธ์กับปริมาณเลือดที่ออก
หน้าท้องนุ่ม ไม่แข็งตึง
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
3.5 การรักษา
การรักษาขั้นต่อไป
GA < 37 Wsk. น้ำหนัก < 2,500 กรัม
รักษาแบบประคับประคอง
หลัง 12-24 ชั่วโมงไม่พบเลือดออกเพิ่มให้รับประทานอาหารอ่อน
พักผ่อนอยู่กับเตียงอย่างเต็มที่
บันทึกสัญญาณชีพอัตราการเต้นของหัวใจทารก
หลังเลือดหยุด 2-3 วันส่งตรวจหาตําแหน่งรกเกาะ
กรณีให้กลับบ้าน
มาตรวจครรภ์ตามนัด
ให้นอนพักไม่ทํางานหนัก
ห้ามร่วมเพศหรือสวนช่องตลอด
เมื่อมีเลือดออกอีกให้รีบมา รพ
3.ถ้าให้การรักษาตามข้อ 1 พบว่าเลือดออกมาก เจ็บครรภ์ GA> 37 Wsk. น้ำหนักทารก > 2,500 กรัม.
รักษาแบบ Active
เตรียมเลือดอย่างน้อย 2 หน่วย
ตรวจภายในในห้องผ่าตัด
เจาะถุงน้ำคร่ำถ้าทำได้
อาจให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกช่วยได้
การรักษาเบื้องต้น
สังเกตอาการตกเลือด
งดน้ำงดอาหารทางปาก ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดําทดแทน
รับ ไว้ในโรงพยาบาล
คํานึงถึงภาวะรกเกาะต่ำเป็นอันดับแรก
ตรวจความเข้มข้นของเลือด เตรียมเลือดและให้เลือดเมื่อมีข้อบ่งชี้
4.หลังเด็กและทารกคลอดแล้วให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
3.3 สาเหตุ
อายุเกิน35ปี,เกิน40ปีมีอุบัติการเพิ่มขึ้น
จํานวนครั้งของการคลอด (parity)
ปัจจัยที่ทําให้หล่อเลี้ยง decidua เสียไป
การผ่าท้องทําคลอดในครรภ์ก่อน
รกแผ่กว้างผิดปกติ
3.6 ภาวะแทรกซ้อน
การบาดเจ็บต่อช่องทางคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
3.2 การแบ่งชนิด
.1. Low-lying placenta (placenta previa type 1)
2.Marginal placenta previa (placenta previa type 2)
Partial placenta previa (placenta previa type 3)
Total placenta previa (placenta previa type 4)
3.7 การพยาบาล
1.งดการตรวจภายในหรือการตรวจทางทวารหนัก
3.ให้คำอธิบายเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ที่ทําให้หญิงตั้งครรภ์พร้อมทั้ง บอกเหตุผล
4.แนะนําให้หญิงตั้งครรภ์พักผ่อนในท่านอนตะแคง
5.ในรายที่มีแลือดออกมากวัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที
6.สังเกตปริมาณเลือดที่ออกทุก 15 นาที
7.ติดตามฟังเสียงหัวใจทารกเต้น โดยใช้ Dropper
10.ถ้าเลือดออกมากควรเตรียมคลอดทางหน้าท้องทันที
12.เตรียมช่วยเหลือป้องกันภาวะช็อคอย่างเร่งด่วน
2.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะรกเกาะต่ำ
11.จัดเตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพทารก
9.คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
งดการร่วมเพศ
นอนพักผ่อนอย่างเพียงพอ
งดชา กาแฟ
งดสูบบุหรี่
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
8.ในรายที่เลือดออกมากควร absolute bed rest
3.1 ความหมาย
ภาวะที่รกเกาะต่ำกว่า ปกติโดยเกาะลงมาถึงบรเิ วณส่วนล่างของผนังมดลูกซึ่งรกจะเกาะใกล้หรือแผ่คลุม internal os เพียงบางส่วนหรือทั้งหมด
ภาวะการแตกของ Vasa Previa
4.3 การวินิจฉัย
อาการก่อนถุงน้ำคร่ำแตก
ตรวจภายในเห็นหรือ คลําพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะกับเสียงหัวใจทากรก
การส่งตรวจถุงน้ำคร่ำ เห็นเส้นเลือดทอดบนเยื่อ ถุงน้ำคร่ำ ชัดเจน
เสียงหัวใจของทารกเปลี่ยนแปลง
อาการหลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
มีเลือดออกทางช่องคลอด
พบมีภาวะเครียด
การตรวจรกและถุงน้ำคร่ำ
การตรวจ U/S ชนิด Color flow doppler
การตรวจเลือดที่ออกทางช่องคลอดเป็นเลือดทารก
4.4 การรักษา
ต้องนึกถึงภาวะนี้เสมอในรายรกเกาะต่ำ ครรภ์แฝด
ถ้าวินิจฉัยได้หลังถุงน้ำคร่ำแตกต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดทันที
ช่วยคลอดด้วยคีม
ผ่าท้องทำคลอด
ถ้าเด็กตายแล้วปล่อยให้คลอดเอง
ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้ำคร่ำแตกให้ผ่าท้องทำคลอด
4.2 ปัจจัยส่งเสริม
ภาวะที่มีรกน้อยร่วมด้วย
ภาวะสายสะดือเกาะบนเยื่อหุ้มทารก
รกเกาะต่ำร่วมด้วย
ครรภ์แฝด
4.5 ผลกระทบของภาวะตกเลือดก่อนคลอด
ต่อมารดา
ผลกระทบทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ
ภาวะซีด
ภาวะเหนื่อยอ่อนเพลีย
การติดเชื้อ
ภาวะพร่องออกซิเจน
ภาวะไตวาย
ต่อทารก
ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ
Fetal distress
หายใจลําบาก
การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่เพียงพอ
ทารกตายในครรภ์
4.1 ความหมาย
ภาวะที่เส้นเลือดของสายสะดือหรือของรกวึ่งทอดอยู่บนเยื่อหุ้ม ทารกนั้นได้ทอดผ่านinternalos ซึ่งเกิดขึ้นได้ในรายที่สายสะดือของทารกเกาะที่เยื่อ หุ้มทารก เรียกว่า Velamentous insertion
นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง รหัส 602701034