Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.1 ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
บทที่ 5.1
ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด
ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
(Pregnancy-induced hypertension)
systolic blood pressure (SBP) ≥ 140 mmHg หรือ diastolic bloodpressure (DBP) ≥ 90 mmHg
ประเภทของความดันโลหิตสูง
Preeclampsia-eclampsia
มักเกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ร่วมกับตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria)
Chronic hypertension
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ไม่ว่าจากสาเหตุใดใดก็ตาม หรือตรวจพบความดันโลหิตสูงก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
Preeclampsia ที่เกิดในหญิงตั้งครรภ์ที่เป็น Chronic hypertension
Gestational hypertension
ภาวะความดันโลหิตสูงที่จ าเพาะกับการตั้งครรภ์
ที่ตรวจพบหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ แต่ไม่พบ Proteinuria และความดันโลหิตมักกลับสู่ระดับปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
เกณฑ์การวินิจฉัย
New-onset Hypertension
Systolic BP (SBP) ≥ 140 mmHg or Diastolic BP (DBP) ≥ 90 mmHg เมื่อวัด 2 ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง
Systolic BP (SBP) ≥ 160 mmHg or Diastolic BP (DBP) ≥ 110 mmHg เมื่อวัดห่างกัน 15 นาที
New-onset Proteinuria
Urine protein/creatinine ratio/index (UPCI) ≥ 0.3 mg/dL OR
Urine Dipstick or Urine analysis reading ≥ 2+
Urine protein 24 hours ≥ 300 mg OR
Severe features
Systolic BP (SBP) ≥ 160 mmHg หรือ Diastolic BP (DBP) ≥ 110 mmHg เมื่อวัด 2 ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง
Thrombocytopenia คือ เกล็ดเลือด < 100,000 cell/mm3
Impaired liver function คือ AST/ALT สูงกว่า 2 เท่าของค่า Upper normal limit หรือมีอาการปวดจุกใต้ลิ้นปี่รุนแรงและไม่หายไป (Severe persistence)
การแบ่งโรค
กลุ่มChronic Hypertension (CHT)
Hypertension ที่ตรวจพบก่อนการตั้งครรภ์ (Pregestational hypertension)
New-onset Hypertension ที่เกิดก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ตรวจพบความดันโลหิตสูงหลังคลอด 12 สัปดาห์
ไม่มี New-onset Proteinuria
ไม่มี Severe features
กลุ่ม Pregnancy-induced hypertension without severe features
2.1 Gestational hypertension (GHT)
New-onset Hypertension ที่เกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ร่วมกับ ไม่มี New-onset Proteinuria
ไม่มี Severe features
ความดันโลหิต ต้องไม่สูงเกิน 160/110 mmHg
2.2 Preeclampsia without severe features
New-onset Hypertension ที่เกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ร่วมกับ New-onset Proteinuria
ไม่มี Severe features
2.3 Chronic hypertension with superimposed preeclampsia without severe features
Chronic hypertension ร่วมกับ New-onset Proteinuria
ไม่มี Severe features
กลุ่ม Pregnancy-induced hypertension with severe features
3.1 Gestational hypertension with severe-range blood pressure
Gestational hypertension ที่มี SBP ≥ 160 mmHg or DBP ≥ 110 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกันในระยะสั้นๆ (ประมาณ 15 นาที)
ไม่มี Severe features
3.2 Preeclampsia with severe features
New-onset Hypertension ที่เกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ร่วมกับ New-onset Proteinuria ร่วมกับ Severe features
3.3 Chronic hypertension with superimposed preeclampsia with severe features
Chronic hypertension ร่วมกับ New-onset Proteinuria ร่วมกับ Severe features
ไม่มี New-onset Proteinuria ก็ได้ เป็นไปในท านองเดียวกัน กับข้อ 3.2
3.4 HELLP syndrome
Low platelet (LP) คือ เกล็ดเลือด < 100,000 cell/mm3
Hemolysis (H) คือ มีภาวะ Microangiopathic hemolysis (MAHA) หรือ LDH > 600 U/L
3.5 Eclampsia
New-onset tonic-clonic, focal or multifocal seizures in pregnancy
การดูแลรักษา
Chronic Hypertension
การฝากครรภ์ครั้งแรก แนะนำให้เจาะเลือด
การพิจารณาเลือก Anti-hypertensive agents
เฝ้าระวังการเกิดภาวะ Superimposed preeclampsia และการเกิด Preeclampsia with severe feature
พิจารณาให้ Low dose aspirin
กรณี Chronic HT ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารกในครรภ์ ไม่แนะนำให้คลอดก่อนอายุครรภ์ 38สัปดาห์
Preeclampsia without severe features หรือ mild gestational hypertension
กรณีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ สามารถพิจารณา 'Expectant management'
กรณีอายุครรภ์ ≥37 สัปดาห์ พิจารณาให้คลอด
ทารกในครรภ์
มีการตรวจ Ultrasonography
เฝ้าระวังภาวะทารกโตช้าในครรภ์
แนะน าให้ท า Fetal surveillance ด้วย NST 2 ครั้ง/สัปดาห์
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ด้วย Expectant management
Admit ตลอดการตั้งครรภ
ให้ MgSO4 นาน 48 ชม.
วัดความดันโลหิต และประเมินอาการปวดศีรษะ/ตามัว/จุกลิ้นปี่ ทุก 2-4 ชั่วโมง
บันทึก fluid intake/ urine output
ตรวจติดตาม Lab
การติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
การพยาบาล
ระยะคลอด
Preeclampsia
วัดความดันโลหิต และ Deep tendon reflex ทุก 1-2 ชั่ว
ตรวจ Urine protein
การพักผ่อน (bed rest)
ประเมินความรุนแรงของโรค
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ได้รับยา Magnesium sulfate
ดูแลให้ได้รับยาป้องกันภาวะชักคือ Magnesium sulfate
ดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย
ประเมินอาการ magnesium toxicity
Monitor intake and output
ภาวะชัก
ให้ออกซิเจนทาง face mask 10 ลิตรต่อนาที
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
จัดท่านอนตะแคง และตะแคงหน้า
วัดความดันโลหิตทุก 15 นาที
ระยะหลังคลอด
ประเมินการการหดรัดตัวของมดลูก
Observe Bleeding
บันทึกสัญญาณชีพ และบันทึก I / O
ให้ IV Fluid ที่ผสม Mg SO4
โรคหัวใจระหว่างการตั้งครรภ์
(Heart Disease in Pregnancy)
ชนิดของโรคหัวใจ
กลุ่มที่มีปริมาตรเลือดเกิน (Volume overload)
กลุ่มที่มีแรงดันสูง (pressure overload)
กลุ่มที่มีอาการตัวเขียว (Cyanosis)
โรคหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease)
โรคหัวใจที่มีภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertensive heart disease)
โรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease)
หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrthymias)
ความรุนแรง
Class I Uncompromised
ไม่มีการจำกัด physical activity
สามารถทำกิจกรรมตามปกติ
Class II Slightly compromised
มีการจำกัดของ physical activity เล็กน้อย
ทำกิจกรรมตามปกติจะเริ่มมีอาการเหนื่อย
Class III Markedly compromised
มีการจำกัดของ physical activity มาก
ทำกิจกรรมตามปกติเพียงเล็กน้อยจะเริ่มมีอาการเหนื่อย
Class VI Severely compromised
ไม่สามารถทำ physical activity ใดๆ
ผลของโรคหัวใจต่อการตั้งครรภ์
แท้งบุตร เนื่องจากทารกขาดออกซิเจน
คลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกตายในครรภ์
ทำให้คลอดง่ายและเร็วเนื่องจากทารกตัวเล็ก
ทารกเกิดโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดในกรณีมารดาเป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด
การวินิจฉัย
ซักถามอาการ
ประวัติการรักษา
ประวัติครอบครัว
ประวัติทางสังคม
อาการและอาการแสดง
อาการ
Severe or Progressive dyspnea
Progressive orthopnea
Paroxymal
noctonal dyspnea
Hemoptysis, Syncope with exertion
อาการแสดง
Cyanosis
Clubbing of fingers
Persistent neck vein distension
Diastolic murmur
Cardiomegaly
Persistent splint second sound
Sustained arrhythmia
การตรวจพิเศษ
การตรวจคลื่นหัวใจ (Electrocardiography)
ภาพรังสีทรวงอก (Chest X-ray)
Echocardiography
การใส่สายสวนหัวใจ (Cardiac catheterization)
การรักษาด้วยยา
ยารักษาหัวใจล้มเหลว
Digoxin
hydralazine
beta-blocker
ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดปกติ
quinidine
ยารักษาลิ่มเลือดอุดตัน
anticoagulants
การดูแลรักษา
Class I และII
การฝากครรภ์ ควรแนะนำให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่ทราบว่าตั้งครรภ์เพื่อให้การดูแลอย่างต่อเนื่อง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจถือว่าเป็นครรภ์เสี่ยงสูง ควรนัดมาตรวจบ่อยกว่าธรรมดา ในระยะ 28
สัปดาห์ควรนัดตรวจทุก 2 สัปดาห์ต่อไปควรนัดตรวจทุก 1 สัปดาห์
ควรดูแลใกล้ชิดจากอายุรแพทย์โรคหัวใจ
การตรวจครรภ์ต้องประเมิน Functional Class ของหัวใจ
ถ้า Functional class เลวลงอาจจะต้องรับผู้ป่วยไว้รักษาตัวในโรงพยาบาล
ให้ผู้ป่วยนอนพักมากๆ
Class III และ IV
อัตราการตายประมาณร้อยละ 4-7 หรือมากกว่าถ้าดูแลรักษาไม่ดี
ผ่าตัดทำคลอดเฉพาะในรายที่มีข้อบ่งชี้ทางสูติศาสตร์
แพทย์จะแนะนำให้ผู้ป่วยทำแท้ง
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์ทราบ
ถึงภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น
การพยาบาล
ปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันไม่ให้หัวใจทำงานหนักมากขึ้นในระยะตั้งครรภ
ให้การพยาบาลเพื่อลดการทำงานของหัวใจ
ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะหัวใจวายในระยะหลังคลอด
ดูแลมารดาเกี่ยวกับการให้นมบุตรโดยมารดาโรคหัวใจ
ให้ข้อมูลในเรื่องการคุมกำเนิด