Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคมือเท้าปาก (Hand Foot and Mouth Disease) - Coggle Diagram
โรคมือเท้าปาก (Hand Foot and Mouth Disease)
การเกิดโรค
เชื้อปนเปื้อนกับน้ำมูก เสมหะ อุจจาระปัสสาวะของเด็กๆ และสามารถติดต่อได้ทางลมหายใจ
โดยเฉพาะเด็กๆ ที่อยู่รวมกันในสถานเลี้ยงเด็ก อนุบาล โอกาสที่โรคจะแพร่กระจายไป จะพบได้สูง
อาการและอาการ
แสดง
หลังรับเชื้อ 4-6 วัน มีไข้ต่ำๆ เบื่ออาหาร
อ่อนเพลีย เจ็บคอ ปฏิเสธอาหารและน้ำ
ตุ่มน้ำใสขึ้นภายในปาก ลิ้น กระพุ้งแก้ม
และบริเวณ มือ เท้า และปาก
ส่วนใหญ่จะทุเลาลงภายใน 7-10 วัน
บางรายอาจมีอาการรุนแรง และภาวะแทรกซ้อนได้ เช่น ไข้สูง ซึม ไม่รับประทานอาหารหรือน้ำดื่ม อาเจียนบ่อย แขนขาอ่อนแรง
กินอะไรไม่ค่อยได้ น้ำลายไหล เพราะมีแผลในปากเหมือนแผลร้อนใน
การวินิจฉัยโรค
ผู้ป่วยมีไข้สูง 38 - 39 องศาเซลเซียส
พบจุดนูนแดง ตุ่มน้ำใส หรือแผลที่เยื่อบุปาก ลิ้น และเหงือก
พบจุดแดงราบ ตุ่มนูน หรือตุ่มน้ำที่มือ เท้า ฝ่ามือ ฝ่าเท้า และแก้มก้น
ในผู้ป่วยรายที่มีอาการแทรกซ้อนอย่างรุนแรง แพทย์อาจจะทำการตรวจเชื้อไวรัสจากสิ่งคัดหลั่งที่บริเวณคอหอย อุจจาระ หรือน้ำเหลืองจากตุ่มน้ำบนผิวหนังเพิ่มเติม เพื่อเป็นการยืนยันว่าเป็นการติดเชื้อในกลุ่มนี้ โดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์ เนื่องจากว่าการตรวจในลักษณะนี้ไม่จำเป็นต้องทำในผู้ป่วยทุกราย อีกทั้งยังมีราคาแพง และในบางสถานการณ์ก็ไม่สามารถทำได้อันเป็นเหตุมาจากอุปสรรคทางเทคนิคต่างๆ อาทิ การตรวจหายีนของไวรัสด้วยวิธี Polymerase chain reaction (PCR) ที่จะใช้เวลาในการตรวจและรายงานผลที่ได้ประมาณ 1 - 3 วัน , การตรวจด้วยการเพาะเชื้อไวรัส (Virus culture) ใช้เวลาในการตรวจและรายงานผลที่ได้ประมาณหนึ่งสัปดาห์ ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีวิธีการตรวจที่จะให้ผลได้เร็วภายใน 1 - 2 ชั่วโมง
การรักษา
รักษาตามอาการ ให้ยาลดไข้ เช็ดตัวลดไข้ รับประทานอาหารอ่อนๆ ดื่มน้ำและน้ำผลไม้
นอนพักผ่อนมากๆ และเฝ้าระวังภาวะ
แทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้
โรคจะหายไปภายในเวลาไม่เกิน 2
สัปดาห์
การป้องกัน
ไม่มีวัคซีนป้องกัน
ป้องกันได้โดยการรักษาสุขอนามัยเน้นความสะอาดของร่างกาย ล้างมือให้สะอาดหลังเข้าห้องน้ำทุกครั้ง และก่อนรับประทานอาหาร
หลีกเลี่ยงการใช้ของร่วมกัน เช่น
ผ้าเช็ดตัว เสื้อผ้า
สถานรับเลี้ยงเด็กควรจัดให้มีอ่างล้างมือ
และส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
หากพบเด็กป่วย ให้เด็กหยุดอยู่บ้าน
จนกว่าจะหาย
หากมีเด็กป่วยจำนวนมาก ต้องปิดสถานที่ 1-2 สัปดาห์และทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรค
วิธีป้องกัน
ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคนี้ การป้องกันที่สำคัญคือ แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคมิให้ไปสัมผัสกับเด็กคนอื่น
เด็กทุกคนรวมทั้งผู้ใหญ่ที่ดูแลเด็กควรหมั่นล้างมือ เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ
หมั่นทำความสะอาดของเล่น และสิ่งแวดล้อมทุกวัน การทำความสะอาดโดยใช้สบู่ ผงซักฟอก หรือน้ำยาชะล้างทำความสะอาดทั่วไป แล้วทำให้แห้ง
ควรระมัดระวังในความสะอาดของน้ำ อาหาร และสิ่งของทุกๆ อย่างที่เด็กอาจเอาเข้าปาก
ไม่ให้เด็กใช้ของเล่นที่อาจปนเปื้อนน้ำลาย หรืออุปกรณ์การรับประทานร่วมกัน ควรสอนให้เด็กๆ ใช้ช้อนกลาง และล้างมือก่อนรับประทานอาหาร