Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน - Coggle Diagram
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน
สัตว์กัดต่อย
งูพิษ
พิษต่อระบบประสาท
[Neurotoxin]
ผลจากรับพิษ
ลืมตาไม่ได้ กลืนลำบาก
หยุดหายใจเสียชีวิตได้
เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อ
ได้แก่
จงอาง
งูทับสมิงคลา
งูสามเหลี่ยม
งูเห่า
พิษต่อโลหิต
[Hemotoxin ]
ได้แก่
งูแมวเซา
งูกะปะ
งูเขียวหางไหม้
ผลจากรับพิษ
อาเจียนเป็นเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด
มีเลือดออกตามที่ต่างๆ ตามผิวหนัง เหงือก
พิษต่อกล้ามเนื้อ [Myotoxin]
ได้แก่
งูทะเล
ผลจากรับพิษ
ปัสสาวะสีดำเนื่องจากกล้ามเนื้อถูกทำลายเกิด myoglobinuria
ปวดกล้ามเนื้อมาก
ทำอันตรายต่อกล้ามเนื้อ
การดูแลผู้ที่ถูกงูพิษกัด
หยุดการเคลื่อนไหวของร่างกายปลอบโยน ให้กำลังใจ
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดหรือน้ำเกลือทันที ปิดแผลด้วยผ้าสะอาด ทำเฝือกชั่วคราว
จัดให้อวัยวะที่ถูกกัดอยู่ต่ำกว่าระดับหัวใจ
นำตัวผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ให้เร็วที่สุด
ผึ้ง ต่อ แตน
อาวุธที่ใช้ทำร้ายศัตรู
เหล็กใน ซึ่งอยู่ทางปลายสุดของลำตัว
ตัวที่ทำร้ายคนได้จึงเป็นตัวเมียเท่านั้น
การดูแล
ในกรณีที่มีเหล็กในติดอยู่ในแผล ต้องเอาเหล็กในออกก่อน
ล้างบาดแผลด้วยสบู่และน้ำสะอาด
ประคบด้วยน้ำเย็น
ถ้ามีอาการปวดมากให้รับประทานยาแก้ปวดได้ ถ้ามีอาการมากขึ้นให้นำส่งโรงพยาบาล
แมงป่อง ตะขาบ
ผลจากพิษ
ปวด บวม และแดง
บางรายถ้าแพ้อาจมีไข้ ปวดศีรษะ และปวดแผลมาก
การดูแล
ล้าง และฟอกบริเวณแผลด้วยสบู่ ล้างด้วยน้ำสะอาด
ใช้แอมโมเนียหอมชุบปิดแผลไว้
ถ้าปวดให้กินยาแก้ปวดพาราเซตามอล และประคบบริเวณแผลด้วยความเย็น
แมงกะพรุนกล่อง
ผลจากรับพิษ
กล้ามเนื้อหน้าท้องและหลังเกร็ง
ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เวียนหัว คลื่นไส้ ปวดหัว
กระสับกระส่าย แน่นหน้าอก
การดูแล
ให้ผู้บาดเจ็บอยู่นิ่งๆ เพื่อลดการยิงพิษจากแมงกะพรุน
ล้างบริเวณที่ถูกพิษด้วยน้ำส้มสายชูบ้าน ความเข้มข้น 2-10 % นานอย่างน้อย 30 วินาที หากไม่มีให้ใช้น้ำทะเล
ใช้ถุงมือหนา หรือแหนบคีบหนวดที่ยังติดอยู่ ห้ามใช้มือหยิบ
ให้ใช้วัสดุขอบเรียบ เช่น เปลือกหอย บัตร สันมีด ขูดเอาเมือกออก
อาการแพ้รุนแรง
Anaphylactic shock
ความหมาย
ช็อกจากการแพ้เป็นปฏิกิริยาของร่างกายต่อต้านการแพ้ที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
สาเหตุ
อาหารบางประเภท เช่น อาหารทะเล ไข่ ถั่ว
ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากน้ำยาของพืช เช่น ลูกโป่ง ถุงยาง ถุงมือยาง
การถูกพิษแมลง กัด ต่อย เช่น ผึ้ง ต่อ มดคันไฟ
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAID)
ยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะ penicillins เเละ cephalosporins
การได้รับสารทึบแสง
อาการและอาการแสดง
ระบบผิวหนัง
ผื่นลมพิษ
บวม
คัน
ระบบหายใจ
ไอ
หลอดลมบวม
หายใจลำบาก
เสียงปอด
stridor
wheezing
rhonchi
กลืนลำบาก
เสียงแหบ
ระบบประสาท
ความรู้สึกตัวลดลง
เวียนศีรษะ
กระสับกระส่าย
ปวดศีรษะ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะคั่ง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นเร็ว
ความดันเลือดต่ำ
ระบบทางเดินอาหาร
คลื่นไส้
ปวดท้อง
อาเจียน
ท้องเสีย
การักษา
1.เบื้องต้น
หน้ามืด ควรให้นอนราบกับพื้นและยกเท้าสูง
มีอาการแพ้และมียาอิพิเนฟรินติดตัว ให้ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
หายใจลำบากแต่ยังรู้สึกตัวดี ควรพยุงให้นั่งบนเก้าอี้
รีบนำตัวส่งโรงพยาบาลทันที
2.แพทย์
ประเมินตาม ABC
ประเมินทางเดินหายใจ (A: Airway) ทางเดินหายใจของผู้ป่วยให้โล่ง
ประเมินระบบไหลเวียนโลหิต (C: Circulation) ให้สารน้ำหรือยาทางเส้นเลือด
ประเมินการหายใจ (B: Breathing) บางรายใส่ออกซิเจน
ขั้นแรก แพทย์จะให้ยาอิพิเนฟริน
การพยาบาล
ให้ออกซิเจน
การใช้ยา
กลุ่มยาที่ทำให้หลอดเลือดหดตัว
กลุ่มยาเพิ่มการไหลเวียนเลือดสู่กล้ามเนื้อหัวใจ
กลุ่มยาช่วยเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
การให้สารน้ำ
การช่วยระบายอากาศ
ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว
ควรจัดให้ผู้ป่วยนอนยกปลายเท้าสูง 10-12 นิ้ว
ฺBurn(แผลไฟไหม้)
ประเภท
Electrical injury (กระเเสไฟฟ้า)
อาการ
มีแผลไหม ทางเข้า-ออกของกระเเสไฟ
กระดูหัก/ข้อเคลื่อน
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ไตวาย
ความรุนเเรง
ตำแหน่งที่สัมผัส
ชนิด/กำลังไฟฟ้า
สิ่งเเวดล้อม
โลหะ
น้ำ
การรักษา
ดูเเลแผล
ปม.บาดเจ็บร่วม
Head injury
spinal injury
ประเมินความรู้สึกตัว
ให้ O2
เพิ่มความอบอุ่นร่างกาย
ส่งต่อ
CPR (หยุดหายใจ)
Terminal injury
ร้อนแห้ง(Flame burn)
ร้อนเปียก(Scald burn)
Radiation injury(รังสี)
กัมมันตรังสี
ระเบิดปรมณู
Chemical injury(สารเคมี)
กรด/ด่าง
เป็น Necrotizing substance
ทำลายเนื้อเยื่อ
ความรุนเเรง
ความเข้มข้นของสาร
ระยะเวลาที่สัมผัส
ความลึกของแผล
Third degree burn
หาย เป็นเดือน
แผลหนาแข็ง แห้ง กร้าน
แผลเป็นนูนมาก (Hypertrophic scar/Keloid)
ไม่ปวด ยกเว้นกด
ขาว ซีด เหลือง น้ำตาลไหม้ ดำ
ทำ Skin graft
first degree burn
แผลสีแดง/ชมพู
ไม่มีตุ่มพอง
นุ่ม
ปวด/แสบแผล
หายเอง 3-5 วัน
Second degree burn
Deep partial thickness
ผิวขาว ซีด
ตุ่มพองน้อย
หาย 14-28 วัน
ปวด/แสบน้อย
Superficial partial thickness
ผิวแดง
หาย 7-14 วัน
ปวด/แสบมาก
มีตุ่มพอง
การประเมินแผล
เด็ก
อวัยวะเพศ 1 %
ขา(หน้า-หลัง)
R 13.5 %
L 13.5 %
หัว 18 % (หน้า-หลัง)
แขน (หน้า-หลัง)
L 9%
R 9%
อก 36 % (หน้า-หลัง)
ผู้ใหญ่
หัว 9 % (หน้า-หลัง)
แขน (หน้า-หลัง)
R = 9%
L 9%
ขา(หน้า-หลัง)
L 18 %
R 18 %
*ถ้าทั้งฝ่ามือ 1 %
อก 3ุ6% (หน้า-หลัง)
อวัยวะเพศ 1 %
การรักษา
Secondary
ชั่งนน.
ปม.การไหลเวียนเลือด
Urine q 1 hr
ปม.แผลไฟไหม้
ปม.ทางเดินหายใจ
หาการบาเจ็บร่วม
V/S
Primary
Airway&C-spine
Breathing
Circulation
แผลไหม้รอบแขน/ขา
NG-tube (ลดคลื่นไส้ อาเจียน)
ถอดเครื่องประดับ (เพราะเเผลจะบวม=ถอดไม่ได้)
ผ้าสะอาดปิดแผล+ทายาต้านเชื้อBacteria
รักษาอวัยวะส่วนปลาย(การไหลของเลือด)