Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบไต ทางเดินปัสสาวะ อวัยวะสืบพันธุ์, ศศิประภา ภิญโญยาง 611201140 -…
ระบบไต ทางเดินปัสสาวะ อวัยวะสืบพันธุ์
Inguinal Hernia
สาเหตุ
เด็กเพศชายมากกว่าเด็กเพศหญิง พบมากในทารกคลอดก่อนกำหนด เพศหญิงจะผ่าน round ligament
การเจริญเติบโตในครรภ์
อายุครรภ์ได้ 7 เดือน ถุงที่ยื่นยาวนี้เรียกว่า processus vaginalis อายุครรภ์ได้ 9 เดือนวงในไปจนถึงอัณฑะ เหลือแต่ถุงหุ้มอัณฑะ เรียก tunica vaginalis
พยาธิสภาพ
เพศชายไส้เลื่อนมีได้ 2 แบบ
complete inguinal hernia (scrotal hernia) tunica vaginalis
เพศหญิง inguinal hernia
labia majoraเคลื่อนลง peritoneal membrane ลงมาด้วยเป็น pouch เรียก "Canal of Nuck"
อาการและอาการแสดง
มีก้อนโป่งที่ขาหนีบเป็นอาการที่พบบ่อย
ใช้นิ้วกดเบาๆ บน spermatic cord
บริเวณขาหนีบโดยการกลิ้งนิ้วลง บนpubic-tubercle หรือคลึงเบาๆ ข้างcord ผิวของถุงมือบนและล่างจะถูกัน เลื่อนเหมือน ผ้าไหมเสียดสีกัน(silk-grove sign)
การรักษา
ไม่รอเพื่อหวังให้หายเองหรือไม่ใช้อุปกรณ์อื่นรัดถุงอัณฑะแทน ผ่าเข้าไปหาถุงไส้เลื่อน
การพยาบาล
การเตรียมก่อนผ่าตัด
การดูแลหลังผ่าตัด
คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
การดูแลแผลผ่าตัด การทำกิจกรรม การดูแลเรื่องอาหารและอื่นๆ
ลูกอัณฑะติดค้างCryptorchidism
สาเหตุ
-สาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด
-ลูกอัณฑะ ไม่ลงมาจากช่องท้องลงถุงอัณฑะ
-ติดค้างอยู่ระหว่างช่องขาหนีบ(inguinal canal) ลูกอัณฑะที่ติดค้าง "undescended testis"
-การเกิด Cryptorchidism อาจทำให้เป็นหมัน
การรักษา
การดึงลูกอัณฑะลงมาและยึดติดไว้อยู่ในถุงอัณฑะ เรียกวิธีการนี้ว่า Orchiopexy (หรือ Orchidopexy)
ควรตัดชิ้นเนื้อไปตรวจดูพยาธิสภาพของลูกอัณฑะก่อน หากยังมีสภาพดีจึงพิจารณาใช้วิธี Orchiopexy
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะUrinary Tract Infection:UTI
สาเหตุ
E.coli แบคทีเรีย ติดเชื้อไวรัส เชื้อรา
เชื้อโรคอาจเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะ
-แพร่กระจายขึ้นโดยตรง (ascending infection)
-ทางกระแสเลือด (hematogenous route)
-ทางน้ำเหลือง (lymphatic route)
ชนิด
ตำแหน่งการติดเชื้อ
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน (upper urinary tract infection)
กรวยไตอักเสบ(pyelitis) และท่อไต อักสบ(ureteritis) อาการมักจะรุนแรง
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (lower urinary tract infection)
กระเพาะปัสสาวะ (cystitis) ท่อปัสสาวะ (urethritis) ต่อมลูกหมาก (prostatitis) อาการไม่รุนแรง
ลักษณะของโรค
-การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะชนิดไม่ซับซ้อน (uncomplicated UTI)
-ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะชนิดซับซ้อน (complicated UTI)
อาการและอาการแสดง
Pyelonephritis
อาการปวดท้องหรือ flank pain ไข้สูง อ่อนเพลีย คลื่นไส้ ทารกแรกเกิดจะไม่มีอาการเฉพาะที่
Cystitis
มักไม่มีไข้ มีอาการ dysuria, urgency, frequency, incontinence เชื้อ E coli และ adenovirus 11 และ 21 acute hemorrhagic cystitis
Asymptomatic bacteriuria
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อไตยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน เนื้อไตและกรวยไตอักเสบ
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
ปัสสาวะรดที่นอน ถ่ายปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะเล็ดหรือราด เด็กโตจะบ่นเจ็บแสบเวลาถ่ายปัสสาวะ
การวินิจฉัย
การตรวจปัสสาวะ
การเพาะเชื้อ (urine culture) การทำ Nitrite test
การตรวจเลือด
การเพาะหาเชื้อจากเลือด (hemoculture) การตรวจเลือดทางชีวเคมี (blood chemistry)
การตรวจทางรังสี และการตรวจอื่นๆ
อัลตราซาวน์ Voiding cystourethrogram (VCUG) การตรวจทาง nuclear medicine liu renal scan with dimercaptosuccinic acid (DMSA)
การรักษา
การรักษาทั่วไป
ให้น้ำ ให้อาหารอย่างเพียงพอ ให้ยาลดไข้
การรักษาจำเพาะ
การรักษาด้วยยา
ยาฉีด
Ceftriaxone Cefotaxime
ยาทาน
ชนิดที่ใช้รักษา Amoxicillin
ชนิดที่ใช้ป้องกัน Co-trimoxazole(TMP+SMX)
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ผนังหุ้มปลายองคชาคตีบ(Phimosisi)
สาเหตุ
-การสะสมของsmegmaหรือสิ่งคัดหลั่งจากต่อมน้ำมันของfore skin
-การยึดติดอาจยังไม่แน่นมาก อาจถ่ายปัสสาวะไม่สะดวก
-ทิ้งนานๆจะมีการติดเชื้อของfore skin(balanitis)
อาการและอาการแสดง
-แคบมากทำให้หนังหุ้มปลายโป่งพองเพราะมีปัสสาวะมาขัง
-เกิดไส้เลื่อนหรือริดสีดวงทวารหนักได้ เพราะเบ่งปัสสาวะมาก
-ปัสสาวะแสบขัด
-Phimosisจนเป็นผู้ใหญ่ อาจเกิดมะเร็งแทรกซ้อนได้
การรักษา
-ถ้าอักเสบเหมือนโรคทั่วไปรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
-ถ้ายึดfore skinจะเลาะadhesionทั้ง2ข้างออก ไม่นิยมทำในเด็กเล็ก
-Phimosis เด็กเล็กจะขยายรูเปิดforceps adhesionออก
-ในเด็กโตทำcicumcision ถ้ามีการติดเชื้อรักษาต้องรักษาก่อนทำcircumcision
Paraphimosis
อาการและอาการแสดง
-ปลายprepuceร่นกลับ
-ค้างอยู่บริเวณcoronaขององคชาต
-หนังส่วนปลายบวมคล้ำ
การรักษา
-Reductionกดprepuceที่บวมให้ยุบ แล้วดึงปลายให้หุ้ม
-มักนัดมาทำcircumcision ประมาณ 2 สัปดาห์ หลังจาก reduction หรือ dorsal slit แล้ว
การพยาบาล
-มักไม่มีภาวะแทรกซ้อน ดูแลปกติ
-ถ้าแผลที่ทำไปมีปัญหา อักเสบ บวมแดง ควรนำบุตรมาปรึกษาแพทย์ -บิดามารดาสามารถป้องกันการเกิดphimosisด้วยการทำความสะอาด fore skinทุกครั้งเมื่ออาบน้ำ
Hypospadiasภาวะรูเปิดปัสสาวะต่ำกว่าปกติ
สาเหตุ
-เป็นความผิดปกติตั้งแต่กำเนิดของ เพศชาย
-รูเปิดท่อปัสสาวะไม่อยู่ที่ปลายองคชาติ (abnormal urethral opening) -หนังหุ้มปลายมีขนาดกว้างและครอบคลุม เพียงด้านหลังขององคชาต (dorsal hood prepuce)
-องคชาตคดงอเมื่อมีการแข็งตัว (penile curvature) องคชาตและถุงอัณฑะสลับที่กัน (penoscrotal transposition)
-ร้อยละ 0.3 นอกจากนี้กรรมพันธุ์ยังมีส่วนสำคัญ
ประเภท
-เปิดที่ฐานของส่วนปลายสุดขององคชาต (glanular type)
-เปิดที่ช่วงใดช่วงหนึ่งตลอดแนวความยาวขององคชาตด้านล่าง (penile type)
-เปิดบริเวณโคนขององคชาต หรือตรงกลางระหว่างถุงอัณฑะทั้ง 2 ข้าง (penoscrotal type) ในประเทศไทยพบชนิดนี้ได้บ่อย
-เปิดบริเวณฝีเย็บ (bulbous type) เด็กจะมีลักษณะองคชาต โค้งงอลง (ventral chordee)
-เปิดใกล้ๆperinealเท่าไหร่ยิ่งผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
-ถ้ารูเปิดอยู่ใกล้ส่วนปลายมักไม่มีอาการผิดปกติมาก
-รูเปิดอยู่ห่างจากตำแหน่งปกติมากจะทำให้เกิด การดึงรั้ง เพราะมี fibrosis ทำให้องคชาตงอโค้ง
-อวัยวะเพศผิดรูปแลว้ยังอาจมีการตีบตันของท่อปัสสาวะ
-การมีท่อปัสสาวะสั้นกว่าปกติ จึงทำให้ โอกาสที่จะเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะได้บ่อยขึ้น
ผลกระทบ
-ปัสสาวะไม่พุ่งเป็นลำไปด้านหน้า
-องคชาตคดงอเมื่อมีการแข็งตัว ถ้าคดงอมากอาจทำให้ร่วมเพศไม่ได้
การรักษา
-อาจทำช่วงอายุ 6-18 เดือน ก่อนที่เด็กจะมีการพัฒนาภาพลักษณ์ ซึ่งส่งผลให้เด็กเกิดความวิตกกังวล
-อาจผ่าตัดรักษาเมื่ออายุ 3-5 ปี ก่อนท่ีเด็กจะเข้าโรงเรียน
-การเลือกเวลาท่ีเหมาะสมในการผ่าตัด จะพิจารณาตามความเหมาะสมใน เหตุผลต่างๆ
การผ่าตัดแก้ไขขึ้นกับ
-ถ้าเป็นน้อย คือ รูเปิดอยู่ใกล้ปลายองคชาตอยู่แล้ว อาจผ่าตัดแก้ไขได้ในครั้งเดียว (one staged repair)
-ถ้าเป็นมากอาจต้องผ่าตัดแก้ไขหลายขั้นตอนโดยในปัจจุบันนิยมผ่าตัดแบบ one-staged repair โดยสร้างท่อปัสสาวะให้ใหม่ (urethroplasty)
กิจกรรมการพยาบาล
-ไม่สุขสบายจากความเจ็บปวด หลังผ่าตัด
-เสี่ยงต่อการติดเชื้อเข้าทางแผลผ่าตัด
Epispadiaภาวะรูเปิดปัสสาวะอยู่ด้านบนของอวัยวะ
อาการและอาการแสดง
-กลั้นปัสสาวะไม่ได้
-ปัสสาวะไหลตลอดเวลา
-ปัสสาวะพุ่งขึ้นและรั่วออกมา
ตำแหน่งของรูเปิด
แบบที่ 1
-เปิดที่ฐานของส่วนปลายของอวัยวะเพศด้านบน (dorsal)
-แบบนี้พบได้บ่อยที่สุด อาการไม่รุนแรง
-อาจไม่ต้องทำการผ่าตัดแก้ไข
แบบที่ 2
-เปิดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งตลอดความยาวของอวัยวะเพศ -ด้านบนอวัยวะเพศจะถูกดึงรั้งขึ้น มีลักษณะแบน ขนาดเล็กกว่าปกติ
แบบที่ 3
-เปิดที่บริเวณคอของกระเพาะปัสสาวะ หรือบริเวณอวัยวะเพศต่อ กับบริเวณหัวเหน่า (penopubic junction)
-พวกนี้ท่อปัสสาวะและอวัยวะเพศจะสั้นมากหรืออาจไม่มีเลยก็ได้
การรักษา
การดูแลผู้ป่วยepispadiasคล้ายกับhypospadias
-แบบที่1ไม่ต้องรักษา
-แบบที่2,3จำเป็นต้องผ่าตัด
กรวยไตอักเสบPyelonephritis
อาการและอาการแสดง ไข้ หนาวสั่นทันที และปวดเอวข้างเดียวหรือ สองข้าง
การวินิจฉัย
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ(Laboratory findings)
-การตรวจพบรังสีวินิจฉัย (radiologic finings)
การรักษา
-การติดเชื้อแบบไม่ซับซ้อนที่ไม่ต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล
-การติดเชื้อแบบซับซ้อนที่สัมพันธ์กับการนอนพักรักษาในโรงพยาบาล
ไตวายเฉียบพลันAcute Renal Failure:ARF
สาเหตุ
-Prerenal azotemia
-Acute intrinsic renal failure
-Postrenal ARF
การดำเนินของโรค
-ระยะปัสสาวะออกน้อย (Oliguric phase) ระยะเวลาระหว่าง 3วัน ถึง3สัปดาห์
-ระยะปัสสาวะมาก (diuretic phase)
-ระยะฟื้นตัว(recoveryphase)
อาการและอาการแสดง
ซึม คลื่นไส้ อาเจียนและชัก
มีกรดยูริคและฟอสเฟตในเลือดสูง
ภาวะแทรกซ้อน
-pulmonary edema -arrhythmia -GI bleeding
การรักษา
ทำdialysis
สารอาหารที่เหมาะสม
แบบประคับประคอง
-ปริมาณน้ำที่ผู้ป่วยต้องการ
-ปริมาณแคลอรี
-ยา
-การทดแทนการทำงานของไต
ไตวายเรื้อรังChronic Renal Failure
อาการและอาการแสดง
ซีด
การวินิจฉัย
ฟอสฟอรัส BUN และ creatinine
urine culture, urine 24 hrs.
การรักษา
-ชะลอการสูญเสียหน้าที่ของไต
conservative treatment
Incarcerated inguinal Herniaไส้เลื่อนติดขัด
ถุงไม่สามารถดันกลับเข้าช่องท้องด้วยวิธีธรรมดาได้
อาการและอาการแสดง
-มีไส้เลื่อนอยู่แล้ว
-มักพบในเด็กต่ำกว่า1ปี
การรักษา
ถ้าไม่ได้ต้องรีบผ่าตัด โดยจะให้ยาแก้ปวดและยาคลายกล้ามเนื้อ
ถ้าเด็กมีอาการลำไส้อุดตันอย่างชัดเจนก็ต้องนำไปผ่าตัดฉุกเฉิน
ถ้าดันไม่ได้เลยจริงๆ ต้องนำไปผ่าตัดฉุกเฉิน
การพยาบาล
การผ่าตัดไส้เลอื่นธรรมดาโดยไม่มีการเน่าของลำไส้
การผ่าตัดต่อลำไส้ด้วย ดูแลเหมือนเด็กที่ผ่าตัดระบบทางเดินอาหาร
Hydroceleมีน้ำในถุงอัณฑะ
สาเหตุ
Communicated hydrocele
-บางครั้งมีไส้เลื่อนร่วมด้วย
-ก้อนมีลักษณะยุบๆ บวมๆ
-ก้อนเคลื่อนไหวได้
-บวมhydroceleพบได้น้อย
Hydrocele of the spermatic cord
-processus vaginalis ส่วนบน ที่ต่อ peritoneal cavity
-น้ำขัง spermatic cord
-มีทางแยก "ไข่ สามใบ" hydrocele
-พบได้ประมาณ 1 ใน 3 ของทั้งหมด
Hydrocele of the tunica
-processus vaginalis ส่วนบนได้สลายไป
-มีถุงน้ำขนาดใหญ่อยู่รอบๆ ลูกอัณฑะ hydrocele
-พบได้ประมาณ 2 ใน 3 ของทั้งหมด
อาการและอาการแสดง
เวลาน้ำไหล กลับเข้าช่องท้องก้อนยุบลง
Hydrocele of the spermatic cord
-ไส้เลื่อนขาหนีบมีลักษณะคล้ายกัน
-คลึงได้นิ่มแบบถุงน้าโปร่งแสง (transillumination)
Hydrocele of the tunica
คลำก้อนได้นุ่มนิ่มหุ้มรอบลูกอัณฑะ
คล้ายhydrocele of the spermatic cord
การรักษา
-hydrocele หายได้เองเมื่ออายุประมาณ 12-18 เดือน
-หายเองอาจต้องรอ1-2ปี
-hydroceleมีขนาดโตขึ้นเรื่อยๆไม่เคยแฟบลงเลยแนะนำให้ผ่าตัดเมื่ออายุครบ1ปี
-การเจาะหรือดูดน้ำออกจากถุงอัณฑะไม่นิยมท่าเพราะอาจมีเชื้อโรคเข้าไป
การพยาบาล
เน้นการให้คำแนะนำบิดามารดาให้เข้าใจการดำเนินของโรค
หากต้องผ่าตัดแก้ไขให้การพยาบาลเช่นเดียวกับเด็กที่เป็นไส้เลื่อนขาหนีบ
Acute Glomerulonephritis:AGN ไตอักเสบเฉียบพลัน
สาเหตุ
พบบ่อยในเด็กอายุ2-12ปี
Streptococcus group A.
ระบบภูมิคุ้มกัน
-Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
-Autologous immunoglobulin
-DNA
ยาหรือสารพิษ
D-Penicikkamine
Sulfonamides
Organic and Inorganic mercurials
Organic gold compounds
Antivenoms and Antitoxins
Vaccination endogenous antigens
Henoch-Schonlein purpura
ตำแหน่งของการติดเชื้อ
การติดเชื้อทางเดินหายใจ
-ทอนซิลอักเสบ
-ไข้หวัด
-คอหอยอักเสบ
เชื้อแบคทีเรีย Group A β hemolytic Streptococcus type 12, 4
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
-เชื้อ staphylococcus
-แผลตุ่มหนองพุพอง
-แผลจากการเป็นสุกใส
อาการและอาการแสดง
อาการบวม (edema)
-บวมบริเวณหนังตา (periorbital edema) หลังตื่นนอนเช้า
-บวมทั่วตัวชนิดกดไม่บุ๋ม
-2-3 วัน หรืออาจนานถึง 2 สัปดาห์
-มองเห็นอาการบวมไม่ชัดในระยะแรก
การถ่ายปัสสาวะน้อย (oliguria) หรือไม่ถ่ายปัสสาวะ (anuria) หรือถ่ายปัสสาวะ ล่าบาก (dysuria)
ปัสสาวะน้อย (น้อยกว่า 240 มิลลิลิตรต่อวัน)
การถ่ายปัสสาวะมีเลือดปน (hematuria)
มีเลือดปนจะเห็นได้ชัดเมื่อน้ำ ปัสสาวะมีสีแดง สีชา สีน้าล้างเนื้อ
เม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ
อุจจาระมีเลือดปน 2 - 3 วันหรือ อาจคงอยู่นานเป็นเดือน
การถ่ายปัสสาวะมีโปรตีน (proteinuria or albuminuria)
การรั่วของโปรตีน
ภาวะความดันโลหิตสูง (hypertension)
การคั่งของน้ำในระบบการไหล เวียน(hypervolumia)หัวใจโต
หลอดเลือดหดตัว เพื่อเพิ่ม GFR
hypertensive encephalopathy
อาการปวดศีรษะ
ตาพร่ามัวมองเห็นภาพไม่ชัด
คลื่นไส้อาเจียน
การรับรู้การสัมผัสเปลี่ยนไป
การคั่งของน้ำในระบบไหลเวียน (circulatory congestion)
อาการหายใจเหนื่อยหอบ ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงกรอบแกรบ
การตรวจพบน้ำในช่องท้อง(ascites)
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะทางสมองที่เกิดจากความดันโลหิตสูง
ภาวะปอดบวมไปจนถึงการแพร่กระจายน้ำในช่อง ปอด (pleural infiltration, pleural effusion)
ภาวะหัวใจโตไปจนถึงหัวใจวาย
ภาวะการท่างานของไตล้มเหลวเฉียบพลัน
การรักษา
การพักผ่อน
อาหารและน้ำดื่ม
การจำกัดน้ำดื่ม
การจำกัดเกลือ
รายที่มีอาการบวมมากับเกลือไม่เกิน 300 มิลลิกรัมต่อวัน
รายที่มีอาการบวมและความดัน โลหิตสูงเล็กน้อยเกลือประมาณ 1-2 กรัม/วัน
รายที่ถ่ายปัสสาวะน้อยกว่า 200-300 มิลลิลิตร/วัน งดอาหาร และผลไม้ที่โพแทสเซียมสูง
การจำกัดสารอาหารโปรตีน
การรักษาด้วยยา
ยาขยายหลอดเลือด นิยมใช้ hydralazine
ยาที่ช่วยลดปริมาตรของน้ำในร่างกาย furosemide หรือ lasix
ยาต้านฤทธิ์ Adrenalin
ภาวะ heart failure อาจต้องให้ lanoxin หรือ digitalis
การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
การรักษาอื่นๆ
การให้ออกซิเจน
การให้เลือด
การทำ peritoneal dialysis เป็นการรักษาระยะสั้น
ศศิประภา ภิญโญยาง 611201140