Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีปัญหาสุขภาพร่วมกับก…
บทที่ 5 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีปัญหาสุขภาพร่วมกับการตั้งครรภ์ ในระบะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
5.1 ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด
5.1.1 ความดันโลหิตสูงระหว่างต้ังครรภ์
-
แนวทางการดูแลทารกในครรภ์
-
- เฝ้าระวังภาวะทารกโตช้าในครรภ์ด้วยการตรวจ Ultrasonography เพื่อประเมิน Fetal Growth เริ่มที่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ และติดตามทุก 2-4 สัปดาห์
- แนะนําให้ทํา Fetal surveillance ด้วย NST 2 ครั้งต่อสัปดาห์เริ่มตั้งแต่อายุครรภ์ 28 ถึง 32 สัปดาห์
แนวทางการดูแลสตรีต้ังครรภ์กรณีมีภาวะความดันโลหิตสูงก่อนตั้งครรภ์ รวมกับภาวะครรภ์เป็นพิษและมี Severe Features หรือมีภาวะครรภ์เป็นพิษ (Preeclampsia) และมี Severe Features
-
- ให้ยาลดความดันโลหิตรายที่ความดันโลหิตยังคงสูงกว่า 160/110 mmHg
-
-
-
- ป้องกันชักด้วย MgSO4 iv load 4 gm then iv drip 1-2 gm/hr
-
-
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็น Preeclampsia with severe feature หรือ Mild gestational hypertension
-
- กรณีอายุครรภ์ <37 สัปดาห์สามารถพิจารณา ‘Expectant management’ได้
-
พยาธิสรีรวิทยา
-
- ความสมดุลย์ระหว่างโปรตีนที่มีฤทธิ์ยับยั้งและส่งเสริมการสร้างหลอดเลือดผิดปกติและเซลล์ของทารกขาดเลือด
มีการตายอย่างต่อเนื่องและหลังสารเคมีหลายชนิดที่ทําให้หลอด เลือดหดรัดตัว เมื่อหลอดเลือดทั่วร่างกายหดรัดตัวเป็นเวลานาน จะทําให้เซลล์บุผนังหลอดเลือดเสื่อมสภาพส่งผลให้สตรีต้ังครรภ์ มีความดันโลหิตสูงและเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆลดลง
-
-
ความหมาย
-
urine dipstick >= 1+(1,2)
-
-
นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง รหัส 602701034