Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาล ในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอ…
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาล ในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
Postpartum
Hemorrhage
ความหมาย
เสียเลือดภายหลังทารกคลอดทางช่องคลอด > 500 CC., โดยวิธีผ่าตัด คลอด > 1000 CC., การเปลี่ยนแปลงของ Hct. > 10% ระหว่างแรกรับและหลังคลอด, การเสียเลือด > 1%ของน้ำหนักตัวของมารดาหลังคลอด
สาเหตุ
Uterine atony (Tone)
Uterine fatigue, Bladder full, Benign tumor of the uterus, Over distended of the uterus, Grand multipara, การทำสูติศาสตร์หัตถการ
Lacerations of the birth canal (Trauma)
Precipitate labour, การได้รับ Epidural anesthesia, การตัดฝีเย็บไม่ถูกวิธี
Retained placental tissue (Tissue)
Retained placental, Retained placental tissue, Abnormal of placenta, การทำคลอดรกที่ผิดวิธี, Uterine rupture
Acquired coagulopathies (Thrombin)
Disseminated intravascular coagulopathy (DIC), Antipartum hemorrhage, Death fetus in utero, Severe pre-eclampsia จะทำให้เกิด Thrombocytopenia
Signs and symptoms
Vaginal bleeding : เลือดคั่งที่ Broad ligament, Laceration, ติดเชื้อในโพรงมดลูก
Abdomen : Uterine atony, Subinvolution
Pelvic : External genitalia and vagina
หลักการพยาบาล
ค้นหาสาเหตุ
ค้นหาอาการในระยะเริ่มแรก
เตรียมสารน้ำที่จำเป็นและอปุกรณ์ช่วยชีวิต
ให้การพยาบาลที่รวดเร็วและ นุ่มนวล
การวินิจฉัย
ศึกษาประวัติมารดาโดยละเอียด
การคาดคะเนปริมาณเลือด
สังเกตอาการและอาการแสดง
ตรวจดูการหดรดตัวของมดลูก
ตรวจดูการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ตรวจดูรกโดยละเอียด
ตรวจเลือด
ผลของการตกเลือดหลังคลอด
Puerperal Infection
Hazards of therapy
Post birth anterior pituitary necrosis or Sheehan syndrome
Hysterectomy
การฉีกขาดใกล้ท่อปัสสาวะ ทำให้ท่อปัสสาวะบวม ปัสสาวะลำบาก
Anemia
Death
แนวทางการรักษา
การดูแลตามสาเหตุของการตกเลือด
Total / Subtotal Hysterectomy เป็นวิธีสุดท้ายที่จะใช้เพื่อหยุดภาวะตกเลือด จะทำในกรณีที่มีบุตรเพียงพอแล้ว
การป้องกัน
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลสตรีที่มีประวัติตกเลือดหลังคลอด
ค้นหาผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง
ทำหมัน
ระยะคลอด
ดูแลและติดตามความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
โดยเฉพาะการทำงานของมดลูก
รายที่เสี่ยงสูงควร NPO
ทำคลอดรกอย่างถูกวิธี
การใช้ยาในระยะคลอด
ระยะหลังคลอด
แนะนำมารดาหลังคลอดให้คอยสังเกตการหดรัดตัวของมดลูกอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมงภายใน 8 ชั่วโมงหลังคลอด
ระยะก่อนคลอด
เตรียมเลือด
On IV fluid with medicath No. 18
เตรียมอปุกรณ์กู้ชีพ
ระยะเวลาการคลอดไม่ควรเกิน 24 hrs.
Hematoma
สาเหตุ
การคลอดอย่างรวดเร็ว
การทำสูติศาสตร์หัตถการ
ส่วนนำของทารกกดช่องทางคลอดนานกว่าปกติ
การเย็บซ่อมแซม
ประวัติการอักเสบของหลอดเลือดดำ
ภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์
Signs and symptoms
คล้ำบรเิวณที่เป็น
สีของผิวหนัง
อาการปวด ลักษณะจะมีแรงกดอย่าง รุนแรงใน 12 ชั่วโมงแรก
อาการของการมีเลือดออก
เลือดคั่งบริเวณ Board ligament
ปัสสาวะลำบาก
การป้องกัน
ทำคลอดอย่างถูกวิธี
การซ่อมแซมแผลฝีเย็บ
เฝ้าระวังอาการในรายที่มีความเสี่ยงสูง
การรักษา
กรณีก้อนเลือดมีขนาดเล็ก
ปล่อยให้หายเอง
ประคบเย็น, ประคบร้อน
ยาแก้ปวด
กรณีก้อนเลือดมีขนาดใหญ่
ผ่าตัดและผูกบริเวณที่มีเลือดออก
Vaginal packing + Antibiotic ointment
Retained Foley cath, OFF Vaginal packing + Foley cath
Postpartum
Infection
ความหมาย
การติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์สตรี ในระยะ 6 สัปดาห์หลังคลอด
จะพบในช่วง 28 วันหลังคลอด
สาเหตุ
สาเหตุโดยตรง
Endogenous
Anaerobic bacteria
Streptococcus ทำให้เกิดการติดเชื้อของระบบไหลเวียนโลหิต
Staphylococcus เป็นสาเหตุการอักเสบของแผลฝีเย็บ
E.coli ทำให้เกิดการติดเชื้อในมดลูกน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
Proteus neissereia และ Klebsiella
Aerobic bacteria
Clostridium weichi การติดเชื้อเป็นไปอย่างช้า ๆ และ แพร่กระจายได้อย่างกว้างขวางทำใหเ้กิด Pelvic cellulites
Exogenous
สาเหตุส่งเสริม
ภาวะทุพโภชนาการ
การตรวจทางช่องคลอดบ่อยครั้ง
ระยะเวลาการเจ็บครรภ์
การช่วยคลอด
การล้วงรก
เศษรกค้าง
การดูแลแผลฝีเย็บ
ประเภทการติดเชื้อ
การติดเชื้อเฉพาะที่
การติดเชื้อแผลฝีเย็บ ปากช่องคลอด ลักษณะแผลสีน้ำตาลแดง, เนื้อเยื่อบวม, ขอบแผลเน่า, น้ำเหลืองไหลออกจากแผลกลายเป็นหนอง, แผลแยก
การติดเชื้อช่องคลอด เยื่อบุช่องคลอดบวม แดง, เนื้อเน่าหลุดลอก
การติดเชื้อปากมดลูก ปัสสาวะลำบาก, ไข้ต่ำกว่า 38°C, ถ้าหนองคั่งอยู่ในฝีเย็บหรือช่องคลอด อาจมีอาการไข้สูงและหนาวสั่น การรักษา เปิดแผลให้หนองระบายได้ดี, Hot sitz bath และอบไฟ
Metritis อาการเริ่มต้นใน 48 ชั่วโมงแรกหลังคลอด, ไข้สูงแบบฟันเลื่อย 38.5 – 40 °C, ชีพจรเร็ว สัมพันธ์กับอณุหภมูิ, ปวดท้องน้อยบริเวณมดลูก การรกัษา กรณีมีเศษรกค้างและมีเนื้อตายเกิดขึ้นและเกิดเป็นฝี หนองและยาเข้าไม่ถึงการขูดมดลูกเป็นการรักษาที่ดี, การได้รับยาปฏิชีวนะ, การรักษาตามอาการ
การติดเชื้อลุกลาม
การแพร่กระจายไปตามหลอดเลือดดำ
อาการและอาการแสดง
วินิจฉัยยากส่วนใหญ่จะเป็น R/O ในรายที่ ไข้สูงลอยทั้งที่ให้ยาปฏิชีวนะอย่างเพียงพอ, กรณี Femoral Thombophebitis ขาบวมตึง กดไม่บุ๋ม, ขาจะมีสีน้ำตาล
กรณีบวมน้อย, ขาจะมีสีขาว กรณีบวมมาก
การรักษา
กรณี Pelvic Thombophebitis Heparin ถา้ผลการรกัษาดีภายใน 48 ถึง 72 ชั่วโมง ให้ต่อไปจนครบ 10 วัน ร่วมกับยาปฏิชีวนะ, ถ้าการรักษาไม่ได้ผลดีต้องผ่าตัดหน้าท้อง กรณี Femoral Thombophebitis ยาปฏิชีวนะรว่มกับยาระงับปวด บางรายให ้Heparin ร่วมด้วย ,นอนยกขาสูง ห้ามเดินจนกว่าอุณหภูมิจะลดลงแล้ว 1 สัปดาห์
การแพร่กระจายไปตามระบบน้ำเหลือง
Pelvic cellulites ไข้สูงลอย ปวดท้องน้อย อาจเป็นข้างเดียวหรือ สองข้าง เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ, ตรวจภายในพบมดลกูติดแน่นกดเจ็บทั้งสอง ข้างอาจคลำได้ก้อนบริเวณ broad ligamentหรือก้อนข้างตัว, การรักษาให้ยาปฏิชีวนะ ถ้าเป็นหนองต้องระบายออก
การป้องกัน
ระยะตั้งครรภ์
การรักษาการติดเชื้อ, ภาวะทุพโภชนาการ, หลีกเลี่ยงการมีเพศสมพันธ์ในระยะท้ายของการตั้งครรภ์
ระยะคลอด
Technique, Laceration
ระยะหลังคลอด
แยกมารดาและอุปกรณ์, การให้การพยาบาล, มารดาที่มีปัญหาในระยะคลอดและสุขภาพ
Mastitis and Breast abscess
สาเหตุ
หัวนมแตกหรือมีรอยแผล
การนวดเต้านม
การมีน้ำนมค้างในเต้านม
Mastitis: ท่อน้ำนมอุดตันหรือเต้านมคัดตึงและไม่ได้รับการแก้ไขแล้วเกิดการติดเชื้อขึ้น
Breast abscess: เต้านม อักเสบที่ไม่ไดร้บการรักษาหรือเกิดจากหัวนมแตกและติดเชื้อลามเข้าไปในเต้านม
Signs & Symptoms
Fever 38.3 – 40 ˚C
Chil
คัดตึงเต้านม
เต้านมร้อน แข็งตึง กดเจ็บ
ตึงบรเิวณต่อมใต้ร้กแร้
การป้องกัน
การรักษาความสะอาด
การให้ทารกดูดนมอย่างถูกวิธี
ขนาดของเสื้อชั้นใน
สังเกตอาการผิดปกติ
หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ที่มีการติดเชื้อ
การดูแลรักษา
ดูแลรักษาความสะอาด
งดให้นม
ให้ยาปฏิชีวนะ
ประคบเย็น
ระบายหนอง
Thrombophlebitis
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบของเลือด
การไหลเวียนของหลอดเลือดดำช้าลง
การเปลี่ยนแปลงของผนังหลอด เลือดดำชั้นในสุด
Superficial Venous Thrombophebitis
อาการ
ปวดและร้อนบรเิวณที่เป็นสัมผัสจะรู้สึกอุ่น เห็นรอยแดงตาม หลอดเลือดดำ กดเจ็บ
Fever
การรักษา
ยาแก้ปวด พักผ่อนบนเตียง, พันด้วย Elastic bandage
Deep Venous Thrombophebitis
อาการ
ปวดบริเวณที่เป็นอย่างรุนแรง, ไข้สูง หนาวสั่น, บวมกดบุ๋ม, Homan’s sign positive
การรักษา
ยกขาสูง, ประคบร้อน, พักผ่อนบนเตียง, ให้ยาปฏิชีวนะและยาต้านการแข็งตัวของเลือด, การกระตุ้นการทำกิจกรรม, Thrombolectomy
Sub involution
ความหมาย
กระบวนการกลับคืนสู่สภาพเดิมของมดลูกใช้เวลานานหรือหยุดก่อนที่มดลูกจะคืนสู่สภาพเดิมอยา่งสมบรูณ์
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลงติดต่อกัน 3 วันหรือมดลกูลดระดับช้ากว่าปกติ
คลำพบมดลูกทางหน้าท้องหลังคลอดไปแล้ว 2 สัปดาห์
สาเหตุ
ตั้งครรภ์แฝดหรือตั้งครรภ์แฝดน้ำซึ่งทำให้กล้ามเนื้อมดลูกมีการยืดขยายมาก
เคยตั้งครรภ์มากกว่า 6 ครั้งขึ้นไป
การได้รับยาระงับความรู้สึกในขณะคลอด
มีสิ่งขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
Early ambulation ช้ากว่าปกติ
อาการ
น้ำคาวปลาออกนานหรือปริมาณมากกว่าปกติ
น้ำคาวปลาเป็นสีแดง (persistence red lochia) มีกลิ่นเหม็น (foul lochia)
มดลูกอ่อนนุ่มและใหญ่กว่าปกติ
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลงอาจกดเจ็บ
อาการปวดมดลูก
การป้องกัน
ภายหลังคลอดรก ตรวจรกอย่างละเอียด
ส่งเสริมการไหลของน้ำคาวปลา
ส่งเสริม Breast feeding
Sheehan's syndrome
สาเหตุ
Postpartum hypopituitarism
Pituitary gland เกิดการขาดเลือดมาเลี้ยงอย่างเฉียบพลัน
ปริมาณเลือดที่เสียจะมากจนผู้ป่วยมีภาวะช็อก
กลุ่มเสี่ยง
ภาวะตกเลือดก่อนคลอดและ/หรือตกเลือดหลังคลอดอย่างรุนแรง
ภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
เบาหวานตั้งแต่อายุน้อย
อาการ
อ่อนเพลีย เฉื่อยเนือย วิงเวียน, ขี้หนาว, หน้าตาดูแก่เกินวัย ผิวหนังหยาบแห้ง, ประจำเดือนไม่มา เป็นหมัน เป็นต้น
การวินิจฉัย
ประวัติทางการแพทย์: ประวัติเสียเลือดมากระหว่างตั้งครรภ์ หรอืระยะหลังคลอด
การตรวจร่างกาย: ขี้นอยู่กับว่าขาดฮอร์โมนชนิดใดมาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การรักษาด้วยฮอร์โมนต้องกินยาไปจนตลอดชีวิต, ในรายที่ยังต้องการมีบตุรอาจต้องฉีดฮอร์โมนกระตุ้นให้รังไข่ทำงาน, หากอาการไม่รุนแรงหากสามารถตั้งครรภ์ได้, หากเกิดอาการอย่างรนุแรงในครรภ์แรกแล้วก็ไม่สามารถตั้งครรภ์ในครั้งต่อไปได้