Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาในระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตสังคมของมารดาหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ระบบทางเดินอาหารและการขับถ่าย
มารดาหลังคลอดจะเริ่มหิวและกระหายน้ำทันทีที่คลอดเสร็จ ควรให้มารดาได้ดื่มน้ำหวาน หรือโอวัลตินอุ่นๆ
อาจมีอาการท้องผูกในระยะหลังคลอด
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่วนนำของทารกจะไปกดบริเวณกระเพาะปัสสาวะในระหว่างการคลอด ทำให้ผนังใต้เยื่อบุกระเพาะปัสสาวะกิดบวม มีเลือดคั่งและมีเลือดออก
อาจพบโปรตีนในปัสสาวะร่วมด้วย จะคืนกลับสภาพปกติ ในเวลา 8-12 สัปดาห์
ระบบหายใจ
ขนาดของทรวงอกและช่องท้องมีการเปลี่ยนแปลรวดเร็ว ทำให้ปริมาตรอากาศในปอดที่ค้างอยู่ในปอดที่ค้างอยู่ขณะหายใจออกเพิ่มขึ้น
ความจุอากาศและความจุของอากาศขณะหายใจเข้าลดลง
ผิวหนัง
หลังคลอดฝ้าบริเวณใบหน้าที่อาจเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์จะค่อยจางหายไป
สีของลานนม เส้นกลางหน้าท้องและรอยแตกของผิดหนังบริเวณหน้าท้องอาจมีสีจางลง
ร่างกายจะขับน้ำออกทางผิวหนังจำนวนมากจึงมีเหงื่อออกมาก
ระบบไหลเวียนเลือด
หลังคลอดทันที จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเนื่องจากมดลูกมีการหดรัดตัว
ระหว่างการคลอดที่มีการเสียเลือดจะช่วยรักษาสมดุลเอาไว้
น้ำหนักตัว
หลังคอดทันทีน้ำหนังตัวจะลดลงประมาณ 4-8 กิโลกรัม ในระยะ 3-5 วันภายหลังคลอด น้ำหนังจะลดลงอีก 2-3 กิโลกรัม การลดลงของน้ำหนักตัวขึ้นอยู่กับพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการ และการออกกำลังกาย
ระบบอวัยวะสืบพันธุ์
ฝีเย็บ
จะบวมช้ำหลังคลอด ถ้าเกิดการฉีกขาด ต้องได้รับการซ่อมแซม
กล้ามเนื้อเชิงกราน
ความแข็งแรงค่อยๆเริ่มกลับคืน แต่อาจจะไม่เหมือนเดิม
เยื่อพรหมจารีย์
มีลักษณะฉีกขาดกระรุ่งกระริ่งเรียกว่า คารันคูเล (caruncalae myiforms)
แคมนอกและแคมใน
จะอ่อนนุ่ม เหี่ยวเล็กลง เนื่องจากการลดระดับของฮอร์โมน Estrogen and Progesterone
ช่องคลอด
ภายหลังคลอดจะค่อยๆลดขนาดลง จนกระทั่งในระยะสัปดาห์ที่ 6-10 จึงสมบูรณ์เหมือนเดิม
เนื้อเยื่อบุช่องท้องและผนังช่องท้อง
จะกลับคืนสู่สภาพเดิม ในระยะเวลาอย่างน้อย 6 สัปดาห์เป็นต้นไป
ปากมดลูก
ภายหลังคลอดจะมีสภาพช้ำ อ่อนนุ่ม อาจจะมีการฉีกขาดร่วมด้วย
การตกไข่และประจำเดือน
ในรายที่ไม่ได้เลี้ยงทารกด้วยน้ำนมมารดา จะกลับมีประจำเดือนใหม่ใน 7-9 สัปดาห์หลังคลอด ส่วนในรายที่เลี้ยงทารกด้วยนมมารดา จะมีประจำเดือนใหม่ที่เดือนที่ 9 หลังคลอด
เยื่อบุโพรงมดลูก
ระยะที่ 1 คือระยะ 2-3 วันหลังคลอด มีสีแดงสดเหมือนเลือดสดเรียกว่า lochia rubra
ระยะที่ 2 คือระยะภายหลังคลอด 2-3 วัน น้ำคาวปลาจะมีสีจางหรือคล้ำลงเรียกว่า lochia serosa
ระยะที่ 3 คือระยะ 7-10วันภายหลังคลอด จะมีมูกสีเหลือง เรียกว่า lochia alba
เต้านม
เป็นอวัยวะส่วนเดียวที่มีการเปลี่ยนแปลงจากการตั้งครรภ์และจะเลี่ยนแปลงต่อไปจนกระทั่งคลอด
มดลูก
ภายหลัง 24 ชั่วโมงไปแล้วระดับของมดลูกจะลอยขึ้นมาเหนือสะดือ เอียงไปทางด้านขวา ลดระดับลงวันละ 1/2-1 นิ้ว
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม
ความผูกพันและสัมพันธภาพ
พฤติกรรมระหว่างมารดากับทารก
พฤติกรรมระหว่างทารกกับมารดา
การปรับตัวกับบทบาทมารดา
ระยะที่ 1 Taking - in phase เป็นระยะพึ่งพา
ระยะที่ 2 Taking-hold phase เริ่มช่วยเหลือตนเองได้
ระยะที่ 2 Letting - go phase สามีและภรรยาต้องพึ่งพากัน
การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
การปรับตัวต่อบทบาทบิดามารดา
มารดาจะประสบความสำเร็จในบทบาทการเป็นมารดาหรือเเสดงบทบาทการเป็นมารดา ประกอบไปด้วย การเลียนเเบบ การฝึกบทบาท การจิตนาการ การเลือกเเบบอย่างเเละการปฏิเสธบทบาท การยอมรับการสูญเสีย การเเสดงเอกลักษณ์
การดูเเลให้คำเเนะนำ
Medication ไม่ให้หาซื้อยามารับประทานเอง
Perineal care ความสะอาดของปากช่องคลอดเเละเเผลฝีเย็บทำได้โดยใช้น้ำสบู่
Early ambulation and Exercise ควรกระตุ้นให้มารดาหลังคลอดขยับตัว
Diet มารดาสามารถรับประทานอาหารได้ทันที หากไม่มีภาวะเเทรกซ้อนใดๆ
ฺBreastfeeding เเนะนำให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
การประเมิน 13 B
ฺBonding and Attachment พัฒนาการความรักใคร่ผูกพันของมารดาเเละบุตร
ฺBaby V/S ความผิดปกติของร่างกาย รีเฟล็กซ์ของทารก ประเมินการดูนม
ฺBlue ประเมินว่ามารดาสามารถปรับตัวต่อบทบาทมารดาได้หรือไม่
ฺBowel movement ใน 2-3 วัน มารดาอาจมีอาการท้องอืด
ฺBottom ประเมินฝีเย็บเเละทวารหนัก เพื่อดูว่ามีการเเยกของเเผลฝีเย็บหรือไม่
ฺBladder มารดาหลังคลอดต้องปัสสาวะภายใน 6-8 ชั่วโมง
ฺBreast and lactation พยาบาลต้องประเมินเกี่ยวกับลักษณะหัวนม เต้านม ปริมาณลักษณะน้ำนม
Body temperature
Background ประเมิน ภูมิหลังคลอดของมารดาเกี่ยวกับเศรษฐกิจ การตั้งครรภ์ การคลอด
Body condition ประเมินสภาพ ทั่วไปของมารดาเกี่ยวกับภาวะซีด ความอ่อนเพลีย การลุกจากเตียง
Belief ความเชื่อมารดาหลังคลอดเเละครอบครัว
Belly and fundus มดลูก หลังคลอดต้องมีการหดรดตัวอยู่เสมอ มดลูกต้องมีขนาดลดลงอยู่เรื่อยๆอย่างน้อยวันละครึ่งถึงหนึ่งนิ้ว
Bleeding an Lochia 24ชั่วโมงเเรก สิ่งที่ถูกขับออกต้องเป็นสีเเดงสด ต่อมาจะสีจางๆ
การดูเเลระยะหลังคลอด
สำรวจสีน้ำคาวปลา
คลำกระเพาะปัสสาวะที่เหนือหัวเหน่า
ตรวจเต้านมเเละหัวนม เช่น หัวนมสั้น บอด บุ๋ม หัวนมเจ็บ เเตก เต้านมคัด ท่อน้ำนมอุดตัน เต้านมอักเสบ เต้านมเป็นฝี
สัญญาณชีพ
ตรวจภาวะซีด
ตรวจระะดับยอดมดลูก ควรตรวจเมื่อมารดาไม่มีปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะเเล้ว
ตรวจเเผลฝีเย็บ
เอกสารอ้างอิง
อ. เพ็ชรัตน์ เตชาทวีวรรณ.การพยาบาลมารดาในระยะหลังคลอด(ออนไลน์).สืบค้นจาก :
http://www.elnurse.ssru.ac.th/petcharat_te/pluginfile.php/58/block_html/content/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%9424022019.pdf
[สืบค้นเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563]