Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาหารที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ(ต่อ) - Coggle Diagram
อาหารที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ(ต่อ)
โรคระบบทางเดินอาหาร
โรคกระเพาะอาหาร
สาเหตุของโรคอาจจะมาจาก การติดเชื้อแบคทีเรียเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร หรือการดื่มกาแฟหรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ น้ำอัดลม การทานยาบางชนิด หรือมีอุปนิสัยการรับประทานที่ไม่ถูกต้อง การสูบบุหรี่
ข้อควรปฏิบัติสําหรับผู้ป่วย
รับประทานอาหารให้ตรงเวลา รับประทานอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย และควรเคี้ยวอาหารให้ละเอียด งดสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยาที่มีสเตียรอยด์ ลดความเครียด
หมั่นออกกําลังกาย
รับประทานยาสม่ำเสมอถามที่แพทย์สั่ง
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วย
อาหารมีรสอ่อน
อ่อนนุ่ม ไม่มีกากหรือใย ไม่มีเม็ด และเปื่อยนุ่ม
อาหารจําพวกโปรตีน เช่น ไข่ นม
อาหารไม่เหมาะกับผู้ป่วย
เครื่องเทศต่างๆ
จําพวกพริก พริกไทย กานพลู ลูกจันทร์ จะกระตุ้นให้มีการหลั่งกรดและระ คายเคืองต่อเยื่อบุกระเพาะและลําไส้
เครื่องดื่ม
เครื่องดื่มจําพวก ชา กาแฟ
ผัก ผลไม้ดิบ
มักทําให้เกิดก๊าซ และมีอาการแน่น
ผักมีก๊าซ ผักกระถิน ผักกระเฉด กระเทียมดอกกะหลํ่า กะหลํ่าปลี
ผลไม้ที่มีก๊าซแตงโม แตงไทย ทุเรียน ขนุน น้อยหน่า พุทรา ฝรั่ง
โรคถุงนํ้าดีอักเสบ
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วย
ระยะที่ยังไม่มีการผ่าตัด ควรให้สารอาหารที่มีไขมันน้อย ควรหลีกเลี่ยงอาหารไขมันมาก เช่น อาหารทอด อาหารที่มีรสจัดมีเครื่องเทศมาก
อาหารที่ไม่เหมาะกับผู้ป่วย
อาหารที่มีไขมันมาก เช่น อาหารทอด แกงกะทิ ขนมใส่กะทิ เนื้อสามชั้น หนังไก่
อาหารที่มีก๊าซมาก เช่น กระถิน ชะอม ผักกระเฉด ดอกกะหลํ่า ถั่วสดกะหลํ่าปลี กระเทียม หอม
ผลไม้ที่มีก๊าซมาก เช่น ทุเรียน ขนุน พุทรา น้อยหน่า มังคุด แตงโม
โรคเอดส์
โภชนาการของผู้ป่วยเมื่อมีอาการท้องเสีย
ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟ อาหารรส จัด อาหารที่มีไขมันปริมาณสูง และอาจรับประทานเครื่องดื่มที่ช่วยทดแทนการสูญเสีย เกลือแร่และนํ้า กล้วย มันฝรั่ง
เนื้อไก่ปลา สามารถทดแทนการสูญเสียโปแตสเซียมได้
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเอดส์
อาหารกลุ่มแป้ง
: ผู้ป่วยควรทานอาหารกลุ่มนี้ในทุกมื้อ
อาหารโดยทานวันละ 4-6 ส่วน
ผักและผลไม้:
ควรรับประทานทุกวัน วันละ 5 ส่วน
เนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว
: ให้ทั้งโปรตีน เกลือแร่ และวิตามิน ทานวันละ 2-3 ส่วนทุกวัน
ผลิตภัณฑ์จากนม:
ควรทานวันละ 3 ส่วน
หลีกเลี่ยงโยเกิร์ตหรืออาหารเสริมที่ประกอบด้วยเชื้อจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่
• หลีกเลี่ยงการทานอาหารดิบ
• หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์จากนมที่ยังไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ
• หลีกเลี่ยงอาหารที่มีราขึ้นแม้เพียงเล็กน้อย
• ผู้ป่วยที่มีระดับ CD4 ตํ่ากว่า 200 cell/mm3 ควรดื่มนํ้าที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนทานอาหาร
โรคมะเร็ง
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
อาหารเผ็ด
อาหารที่เพิ่งปรุงรสเสร็จกําลังร้อนจัด
อาหารหรือผลไม้รสเปรี้ยวจัด
อาหารที่มีลักษณะแข็งที่จะทําให้เจ็บเวลาเคี้ยว
ผู้ป่วยมีปัญหาเม็ดเลือดขาวตํ่า
เนื่องจากการทำยาเคมีบําบัด-ฉายแสง
การกินอาหารประเภทโปรตีน
จะช่วยให้ผลการรักษาโรคมะเร็งได้ผลดี ควรกินวันละ 50-80กรัม
ผู้ป่วยที่มีอาการท้องผูก
ดื่มน้ำให้เพียงพอ (ประมาณ 6-8 แก้ว)
ทานธัญพืชที่ขัดสีน้อย เช่น ข้าวกล้อง ขนมปังมัลติเกรน และโฮลเกรน จะมีใยอาหารสูง
ผู้ป่วยยที่มีปัญหาเรื่องการเคี้ยวอาหารหรืออ่อนเพลีย อาจนําผลไม้ที่ไม่หวานจัด เช่น มะละกอ ฝรั่ง มาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ หรือปั่น แบบไม่แยกกากไม่เติมน้ำตาล ดื่มวันละ 1แก้ว
แนะนําว่าไม่ควรใช้อาหารเสริมในการป้องกันมะเร็ง
พฤติกรรมป้องกันโรคมะเร็ง
ไม่รับประทานอาหารที่มีราขึ้น
ลดอาหารไขมัน ลดอาหารดองเค็ม
ไม่รับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ
หยุดหรือลดการสูบบุหรี่ หยุดการเคี้ยวหมาก ยาสูบ
ลดการดื่มแอลกอฮอล์
ทานผัก 5 สี ช่วยต้านโรคมะเร็ง
ทาน โฟเลต: ผักใบเขียวเข้มต่างๆ ถัวเมล็ดแห้ง
ผู้ป่วยหลังผ่าตัด
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วย
โปรตีน
ผู้ป่วยควรได้รับโปรตีนอย่างน้อยวันละ 1.5กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ถ้าไม่สามรถทานได้ควรให้โปรตีนทางหลอดเลือดดำ ในรูปกรดอะมิโนทั้งแบบจำเป็นและไม่จำเป็น
พลังงาน
ผู้ป่วยจึงควร ได้รับพลังงานประมาณวันละ 2500 – 3000 kcal.
วิตามินและเกลือแร่
เพื่อเสริมโซเดียม โปแตสเซียม ฟอสฟอรัส
นํ้า
หลังผ่าตัดผู้ป่วยจําเป็นต้องได้รับนํ้าให้เพียงพอ เพื่อรักษาสมดุล ควรได้รับวันละ 2000 – 3000 มิลลิลิตร
สำหรับผู้ป่วยที่ผ่าตัดที่ไม่เกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร ลำไส้
ผู้ป่วยอาจกินอาหารอ่อนได้ในวันที่3และเปลี่ยนเป็นอาหารธรรมดาได้ในวันที่ 4 ถึง 5 วยอาจกินอาหารอ่อนได้ในวันที่ 3
สำหรับผู้ป่วยที่ผ่าตัดที่เกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร ลำไส้
วันที่ 1-2 งดอาหารและน้ำทางปาก
วันที่3 ให้น้ำและอาหารน้ำใสครั้งละน้อยๆ
วันที่ 4ให้อาหารน้ำใส เช่นซุป
วันที่ 5 ให้อาหารน้ำข้นเช่น น้ำนมข้าว
วันที่ 6 ให้อาหารอ่อน เช่น ข้าวต้ม ไข่ตุ๋น
วันที่ 7ให้อาหารอ่อน
วันที่ 8 ให้อาหารธรรมดา รสอ่อนมีโปรตีน 100-120 กรัมต่อวัน
อาหารที่ไม่เหมาะสม
ควรหลีกเลี่ยงอาหารสุกๆ ดิบๆ และอาหารประเภทหมักดอง
ผู้ป่วยไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วย
พลังงาน
ผู้ป่วยจําเป็นต้องได้รับพลังงานให้เพียงพอประมาณ 50 -70 แคลอรี่ต่อน้ำหนักตัว 1กิโลกรัม
โปรตีน
ควรได้โปรตีนวันละ 2-3 กรัมต่อน้ำหนักตัว1กิโลกรัม ควรเป็นโปรตีนจากเนื้อสัตว์เช่น เนื้อสัตว์ ไข่ นม
วิตามิน เกลือแร่
ผู้ป่วยถูกความร้อนลวกและสูญเสียวิตามิน เกลือแร่มาก ระยะนี้ควรได้รับให้เพียงพอ
นํ้า
ในระยะ 2-3 วันแรกผู้ป่วยจะเสียน้ำมากควรให้ให้เพียงพอต่อร่างกาย
โรคขาดสารอาหาร
ควาชิออร์กอร์ (kwashiorkor)
เป็นโรคขาดโปรตีนอย่างมาก มีอาการบวมเห็นได้ชัดที่ขา ๒ ข้าง เส้นผมมีลักษณะบางเปราะ ตับโต มีอาการซึม
มาราสมัส (marasmus)
เป็นโรคขาดโปรตีน และขาดพลังงาน เด็กมีแขนขาลีบเล็ก หนังหุ้มกระดูก ไม่มีอาการบวม และตับไม่โต
อาหารที่เหมาะสม
วิตามินเอ เช่น นมไข่ ตับ และพืชพวกที่มีแคโรทีน
วิตามินอี เช่นถั่วเปลือกแข็ง ผักใบเขียว
วิตามินดีเช่น นม เนย ไข่แดง ปลาทู
วิตามินเค เช่น ผักใบเขียว กล้วย ปลาตับ
วิตามินซีเช่นผลไม้รสเปรี้ยว บร็อคโคลี่
วิตามินบี1เช่น เนื้อหมู ปลา ไก่
วิตามินบี2 ,3เช่นเครื่องใน นม ไข่
วิตามินบี6 เช่นเนื้อสัตว์ ถั่ว
โฟเลทเช่นยีสต์ ตับ ผักใบเขียว
วิตามินบี12 เช่นอาหารประเภทเนื้อสัตว์
โรคอ้วน(Obesity
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วย
ควบคุมพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
ลดการรับประทานอาหารกลุ่มพลังงานสูง กลุ่ม ข้าวแป้ง ควรทานข้าวกล้องแทน ลดทานขนมหวาน น้ำหวาน ของจุกจิก
เลือกบริโภคอาหารที่มีพลังงานตํ่า ไขมันตํ่า หวานน้อย ใยอาหารสูง
เลือกดื่ม ชา กาแฟ ที่ไม่ใส่นํ้าตาล ใส่นํ้าตาลเทียมแทน
เลือกดื่มนํ้าอัดลมที่ไม่มีนํ้าตาล
เลือกเมนูผ่านการปิ้ง นึ่ง อบ ย่าง ต้ม ตุ๋น แกงไม่ใส่กะท
เลือกรับประทานกลุ่มเนื้อสัตว์ไขมันตํ่า คลอเลสเตอรอลตํ่า
หลีกเลี่ยง อาหารที่มีไขมันทรานซ์ เพิ่มไขมันเลว(LDL-chol)