Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism), ความหมาย - Coggle Diagram
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมเน้นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulas) และ การตอบสนอง (Response) โดยอินทรีย์จะต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและ การตอบสนองอันนาไปสู่ ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม คือการเรียนรู้นั่นเอง ผู้นาที่สาคัญของ กลุ่มนี้ คือ พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) ธอนไดร์ (Edward Thorndike) และสกินเนอร์ (B.F.Skinner)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning)
คือ พาฟลอฟ ได้ทำการศึกษาทดลองกับสุนัขให้ ยืนนิ่งอยู่ในที่ตรึงใน ห้องทดลอง ที่ข้างแก้มของสุนัขติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของน้าลาย
การทดลองแบ่งออกเป็น 3 ขั้น
การวางเงื่อนไข (Before Conditioning)
ระหว่างการวางเงื่อนไข (During Conditioning)
หลังการวางเงื่อนไข (After Conditioning)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของสกินเนอร์
หลักการและแนวคิดที่สำคัญ
เกี่ยวกับการวัดพฤติกรรมตอบสนอง
สกินเนอร์ เห็นว่าการศึกษาจิตวิทยาควรจากัดอยู่เฉพาะพฤติกรรมที่สามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน และพฤติกรรมที่สังเกตได้นั้นสามารถวัดได้โดยพิจารณาจากความถี่ของการตอบสนองในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือพิจารณาจากอัตราการ ตอบสนอง (Response rate)
อัตราการตอบสนองและการเสริมแรง
เชื่อว่าโดยปกติการพิจารณาว่าใครเกิดการเรียนรู้หรือไม่เพียงใดนั้นจะสรุปเอาจากการเปลี่ยนแปลงการตอบสนอง และการเปลี่ยนแปลงอัตราการตอบสนองจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีการเสริมแรง (Reinforcement)
การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement)
ตัวเสริมแรงที่เป็นสิ่งของ ( material reinforce )เป็นตัวเสริมแรงที่ประกอบได้ด้วยอาหาร ของที่เล่นได้และสิ่งของต่างๆ เช่น เสื้อผ้า ของเล่น รถยนต์
ตัวเสริมแรงทางสังคม ( social reinforce )ตัวเสริมแรงทางสังคมเป็นตัวเสริมแรงที่ไม่ต้องลงทุนซื้อหามีอยู่กับตัวเราและค่อนข้างจะมีประสิทธิภาพสูงในการปรับพฤติกรรม
ตัวเสริมแรงที่เป็นกิจกรรม ( activity reinforce)เป็นการใช้กิจกรรมหรือพฤติกรรมที่ชอบไปเสริมแรง
กิจกรรมหรือพฤติกรรมที่ไม่ชอบ
ตัวเสริมแรงที่เป็นเบี้ยอรรถกร (token reinforce) โดยการนำเบี้ยอรรถกรไปแลกเป็นตัวเสริมแรงอื่นๆได้
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดด์Thorndike
ทฤษฎีนี้กล่าวถึงการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus – S) กับการตอบสนอง (Response – R)
กฎแห่งความพร้อม
เมื่อบุคคลพร้อมที่จะทาแล้วได้ทำ เขาย่อมเกิดความพอใจ
เมื่อบุคคลพร้อมที่จะทาแล้วไม่ได้ทำ เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ
เมื่อบุคคลไม่พร้อมที่จะทำแต่เขาต้องทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งการได้ใช้ (Law of Use) มีใจความว่าพันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งขึ้นเมื่อได้ทาบ่อย ๆ
กฎแห่งการไม่ได้ใช้ (Law of Disuse) มีใจความว่าพันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้า และการตอบสนองจะอ่อนกาลังลง เมื่อไม่ได้กระทำอย่างต่อเนื่องมีการขาดตอนหรือไม่ได้ทาบ่อย ๆ
กฎแห่งการตอบสนอง
พันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งหรืออ่อนกำลังย่อมขึ้นอยู่กับผลต่อเนื่องหลังจากที่ได้ตอบสนองไปแล้วรางวัล จะมีผลให้พันธะสิ่งเร้าและการตอบสนองเข้มแข็งขึ้น ส่วนการทำโทษนั้นจะไม่มีผลใด ๆ ต่อความเข้มแข็งหรือการอ่อนกาลังของพันธะระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
ความหมาย