Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 4 กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
4.4การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
จุดประสงค์
การคุ้มครองผู้รับบริการหรือผู้บริโภค
การสงวนวิชาชีพให้กับบุคลากรในวิชาชีพ
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพให้บริการอย่างมีมาตรฐาน
มาตรการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
ห้ามผู้ไม่มีสิทธิคือไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
ให้มีข้อกำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
มีมาตรการลงโทษ ในกรณีทีละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ ระบุสาระของการดำเนินการ สอบสวน การตัดสิน และโทษ
ไม่มีใบประกอบวิชาชีพแต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
การกระทำต่อตนเอง
การช่วยเหลือดูแลบุคคลอื่น
ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทนใดๆ
ไม่ฉีดยาหรือสารใดๆเข้าไปในร่างกาย
ไม่ให้ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
นักเรียน นักศึกษา ในสถาบันที่สภารับรอง ภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ทำตามเกณฑ์การประกอบวิชาชีพตนแต่เข้าข่ายการประกอบวิชาชีพพยาบาล
ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯในประเทศของตน สภาออกใบอนุญาติให้ชั่วคราวไม่เกิน 1 ปี
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
หมวดที่ 1 หลักทั่วไป
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
ผู้เสียหาย กล่าวหา ต่อสภาการพยาบาล
กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
การกล่าวโทษ
สภาฯส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสินว่าคดีมีมูล
สภาฯส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา ข้อมูลส่งคณะกรรมการพิจารณา
คณะกรรมการสภาตัดสิน
อำนาจหน้าที่ของอนุกรรมการ
เก็บรวบรวมข้อมูล พยานหลักฐาน ข้อเท็จจริง
นำหลักฐานพร้อมความคิดเห็นส่งให้คณะกรรมการสภาตัดสิน
อนุกรรมการสอบสวนไม่มีหน้าที่ตัดสิน เมื่อรวบรวม ข้อมูลพร้อมกับความคิดเห็นแล้วจะส่งให้กรรมการสภาพิจารณาตัดสินต่อไป
การพิจารณาสอบสวน
ผู้รู้เห็นเหตุการณ์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
คู่สมรส หรือเป็นญาติเกี่ยวข้องกับบุพการี ผู้สืบสันดาน
พี่น้องร่วมบิดามารดากับผู้ถูกกล่าวหา
คัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการสอบสวน
การคัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการสอบสวน
นับตั้งแต่วันที่ทราบคำสั่งของอนุกรรมการสอบสวนหรือรับทราบเหตุของการคัดค้าน
การพิจารณาคดีของสภาการพยาบาล
ดำเนินคดีไปจนเสร็จสิ้น
การยอมความไม่มีผลต่อการพิจารณาคดีของสภาการพยาบาล
การพิจารณาคดีผู้ประกอบวิชาชีพมีสิทธิเพียงนำเอกสารหลักฐานมาชี้แจงและมาให้ปากคำ
ผลการลงมติของคณะกรรมการสภาฯ
นายกสภาลงนามคำสั่งสภาถือเป็นที่สุด คือ อุธรณ์ไม่ได้
รับทราบคำสั่งลงโทษ
ถ้าเป็นการพักใช้ต้องหยุดประกอบวิชาชีพทันที
การครบกำหนดนับแต่วันรับทราบคำสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
เพิกถอนใบอนุญาติต้องส่งคืนใบอนุญาติภายใน 15 วัน
การขอขึ้นทะเบียนใหม่ภายหลังถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ระยะเวลาต้องพ้น 2 ปี นับแต่วันที่สภาการพยาบาลมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่ 1 สามารถยื่นขอครั้งที่ 2 ภายหลังครบ 1 ปี นับแต่วันที่คณะกรรมการสภาฯมีคำสั่งปฏิเสธคำขอครั้งแรก
สถานที่ที่กฎหมายกำหนด
สถานที่ประกอบการที่มีผู้ประกอบวิชาชีพ การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและผดุงครรภ์ปฏิบัติงานอยู่
สถานที่มีเหตุผลสมควรเชื่อว่ามีการประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและผดุงครรภ์
สถานที่สอบสวนหรือเชื่อว่าทำการสอนวิชาการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
บทกำหนดโทษ
ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 2000 บาท
บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ(พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ ได้จากการตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ)
ต้องพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้วยและต้องส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายใน 15 วัน ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 1000 บาท (มีเฉพาะโทษปรับอย่างเดียว)
การไม่มาให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสาร ต้องโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ผู้ไม่อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับโทษทางวิชาชีพ ประกอบด้วย ว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้ เพิกถอน
ตามมาตรา 43
ระหว่างการพักไม่สามารถแต่งชุดพยาบาลในหอผู้ป่วยได้
นอกจากนี้หากระหว่างถูกพักใช้ไปปฏิบัติและถูกคำสั่งพิพากษาจำคุกด้วยกรณีอื่น
บทเฉพาะกาลเพิ่มเติม(พระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2540)
ให้กรรมการทุกประเภทตามพระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2528 ดำรงอยู่จนครบวาระ
ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันในสาขาการพยาบาล พ.ศ.2528มีอายุต่อไปอีก 5 ปี นับแต่วันที่กฎหมายบังคับใช้
ผู้ที่ไม่เข้าเกณฑ์ตามข้อ 2 แต่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือประกาศนียบัตรเทียบเท่าอนุปริญญาในสาขาการพยาบาล มีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ยกเลิกค่าธรรมเนียมเก่าและใช้อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการณ์ตามพระราชบัญญัตินี้
เกณฑ์สากลของความเป็นวิชาชีพ
อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในระบบวิชาชีพ ที่ยาวนานพอสมควร ถึงขั้นอุดมศึกษา
สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ รวมทั้งการผลักดันในแง่กฎหมาย เพื่อคุ้มครองสมาชิกและผู้รับบริการ
4.5พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
นิยามศัพท์ที่สำคัญ
การพยาบาล
เป็นการกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย
การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพ
การผดุงครรภ์
การกระทำเกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือหญิงมีครรภ์
การทำคลอด การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล เพื่อแก้ไขความเจ็บป่วย
การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
การประเมิน การวินิจฉัย การวางแผน การปฎิบัติและการประเมินผล
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ไขปัญหา
การกระทำด้านร่างกายและจิตใจของหญิงตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์
การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
พนักงานเจ้าหน้าที่
ให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบใบอนุญาต
พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันการแอบอ้าง
ในการตรวจค้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจตามประมวลกฎหมายอาญา โดยให้ผู้ที่ไม่ให้ความสะดวกมีความผิด ได้รับโทษตามที่กำหนด
กำหนดให้มีสภาการพยาบาล
เป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย มีสภาพเหมือนบุคคลทั่วไป
นิติบุคคลทำความผิด
การตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ(พ.ร.บ.)
รายได้/งบประมาณ
งบประมาณแผ่นดิน
ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบำรุง และค่าธรรมเนียมต่างๆ
จากการหารายได้ของสภาการพยาบาล โดยใช้เพื่อวัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
รายได้จากเงินบริจาค รวมทั้งดอกผลของรายได้ต่างๆ
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย(หมวด2มาตรา11-13)
สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โรคต้องห้าม
โรคจิต โรคประสาท
การติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง ติดสุราเรื้อรัง
โรคในระยะปรากฏอาการเป็นที่น่ารังเกียจต่อสังคม
สมาชิกกิตติมศักดิ์มีคุณสมบัติของสมาชิกกิตติมศักดิ์
เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่สภาการพยาบาลเห็นสมควรเชิญให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
จำนวนอายุ การเป็นผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายไม่ได้กำหนด
สิทธิหน้าที่/การพ้นจากสมาชิกสามัญ
ตาย
ลาออก
ขาดคุณสมบัติ
จะต้องส่งคืนใบอนุญาตฯ ต่อเลขาธิการ ภายใน 15 วัน
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
สำเร็จในประเทศ
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
สำเร็จในต่างประเทศ
1 more item...
1 more item...
เกณฑ์สำหรับผู้ไม่ขึ้นทะเบียนทันทีที่สำเร็จการศึกษา
สำเร็จก่อนและหลัง 6 กันยายน 2528
กรณีปฏิบัติงานโรงพยาบาลขอรัฐ ครบ 2 ปี สมัครเป็นสมาชิกสามัญและ
ขอขึ้นทะเบียนทันทีไม่ต้องขอสอบ
ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลเอกชน ต้องผ่านการฝึกอบรมทางวิชาการตามที่สภาฯกำหนด
หลัง 24 ธันวาคม 2540 (สมัครเป็นสมาชิกสามัญและขอสอบขึ้นทะเบียน)
ประเภทของใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้น 1 และ 2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
การพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ใบอนุญาตหมดอายุ
คณะกรรมการสภาการพยาบาล
นายกสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย เป็นกรรมการสภาโดยตำแหน่ง
ตัวแทนจากกระทรวงสาธารณสุขมีสัดส่วนมากที่สุด
ถ้านายกสภาฯเลือกเลขาธิการสภาจากสมาชิกสามัญ กรรมการ จะมีจำนวน 33 คน
กรรมการสภาฯ เลือกคณะผู้บริหารฯ ได้แก่ นายกสภา อุปนายกสภา คนที่1และ คนที่ 2
นายกสภา เลือก เลขาธิการสภา รองเลขาธิการสภา ประชาสัมพันธ์ เหรัญญิก
วาระของกรรมการ 4 ปี ตามวาระที่มาของกรรมการว่าแต่งตั้ง หรือเลือกตั้งแต่เลขาธิการสภาฯ สิ้นสุดลงตามวาระของกรรมการเลือกตั้ง
นายกสภาฯถอดถอนเลขาธิการได้
กรรมการพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระได้ในกรณี
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา13 ได้แก่ ตาย ลาออก
ขาดคุณสมบัติมาตรา18
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
ลาออก
การเลือกตั้งกรรมการแทนตำแหน่งที่ว่างลง
กรรมการว่างลง=หนึ่งในสองหรือน้อยกว่าของกรรมการจากการเลือกตั้ง มากกว่าหรือเท่ากับ 8 เลือกสมาชิกสามัญขึ้นแทน
กรรมการว่างลง มากกว่าหนึ่งในสอง คือ มากกว่า 8 คน ต้องจัดให้
สมาชิกสามัญเลือกตั้งกรรมการขึ้นแทนภายใน 90 วัน
ถ้าอายุกรรมการเหลือต่ำกว่า 90 วัน ให้รอเลือกตั้งใหญ่พร้อมกัน
หน้าที่กรรมการบริหารสภาการพยาบาล
นายกสภาฯ
ดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล
เป็นผู้แทนสภาในกิจการต่างๆ
เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเลขาธิการสภา
เลขาธิการสภา
ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไป
ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภาฯ
รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนต่างๆ
ควบคุมทรัพย์สินของสภาฯ
เป็นเลขานุการคณะกรรมการ
สภานายกพิเศษ
รักษาการตามพระราชบัญญัติ(มาตรา 5)
แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
ออกกฎกระทรวงและกำหนดค่าธรรมเนียมต่างๆ(มาตรา 5)
1 more item...
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการสภาฯ
การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
การลงมติ
การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการที่ปรึกษา
การเข้าแทนตำแหน่งของกรรมการสภาที่ว่างลงก่อนครบวาระ
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการสภาฯ
การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
เรื่องทั่วไป กรรมการอย่างน้อย=16คน (หนึ่งในสอง)
1 more item...
การลงมติ กรรมการ 1 คน มี 1 เสียง
เรื่องทั่วไป ถือเสียงข้างมาก ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานชี้ขาด
เรื่องสำคัญ คะแนนเห็นชอบ จะต้องมี 2 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้ง
คณะ คือ ไม่ต่ำกว่า 22 เสียง
การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
สภานายกพิเศษ เห็นด้วย อาจมีคำสั่ง เห็นชอบ หรือไม่แทงคำสั่งใดๆใน15วัน ถือว่าเห็นชอบ
สภานายกพิเศษ ไม่เห็นชอบ แทงคำสั่งไม่เห็นชอบ ต้องภายใน15วัน
การลงมติแย้งสภานายกพิเศษ ต้องทำภายใน30วัน ใช้กรรมการสภาเต็มคณะลงมติด้วยเสียง 2/3
การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการที่ปรึกษา กรรมการที่ปรึกษาจากกรรมการชุดใดพ้นจากตำแหน่งตามวาระกรรมการชุดนั้น