Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สัน เรือง A beautiful mind - Coggle Diagram
ภาพยนต์สัน เรือง A beautiful mind
อาการและอาการแสดงที่พบ
ควบคุมตัวเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายบุคคลในครอบครัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
มีปัญหาการเข้าสังคม
ชอบอยู่คนเดียว
ประสาทหลอน
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
หูแว่ว ได้ยินเสียงมีคนสั่งการให้ทำตาม
พฤติกรรม
มองซ้าย-ขวาตลอดเวลา
กระสับกระส่าย ไม่อยุ่นิ่ง
เดินหลังค่อม
พูดคุยโต้ตอบกับสิ่งที่ตัวเองมองเห็น
สีหน้าเรีบยเฉย ไร้ความรู้สึก
หวาดระแวง
คิดว่ามีคนสะกดรอยตาม
คิดว่ามีคนจะมาทำร้ายตน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้อื่นเนื่องจากมีความคิดหลงผิด
การพยาบาล
พยาบาลต้องยอมรับในความคิดหลงผิดของผู้ป่วย โดยพยาบาลไม่ควรโต้แย้ง หรือท้าทาย ว่าที่ผู้ป่วยเล่าให้ฟังนั้นไม่จริง และพยาบาลไม่ต้องปฏิบัติตามที่ผู้ป่วยเชื่อ และไม่ควรน าค าพูดของผู้ป่วยไป พูดล้อเล่น
การเข้าไปเปลี่ยนความคิดของผู้ป่วยนั้นกระทได้ค่อนข้างยาก แต่ถ้าผู้ป่วยมีความไว้วางใจ และเชื่อถือในตัวพยาบาล การแสดงความคิดเห็นที่ขัดแย้งกัน ด้วยการให้ความจริง ( Present reality) ยังเป็นที่ ยอมรับได้
พยาบาลต้องตระหนักว่า ความคิดของผู้ป่วยเป็นความคิดที่ยึดแน่นและผู้ปวยเชื่อว่าเป็นจริงตามนั้น
พยาบาลต้องให้ความส าคัญกับการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบ าบัดอย่างสม ่าเสมอเพื่อ เป็นแนวทางให้ผู้ป่วยได้พูดถึงความคิดของเขาได้อย่างอิสระ และเพื่อได้รับฟังความคิดของผู้ป่วย
พยาบาลต้องประเมินความคิดของผู้ป่วยว่ามีผลอย่างไรต่อพฤติกรรมและการกระท าของ ผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วยคิดว่าเขาควรจะตาย ผู้ป่วยจะพยายามฆ่าตัวตาย พยาบาลจึงควรระมัดระวังในประเด็นนี้
อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้อื่นเนื่องจากมีอาการประสาทหลอน
การพยาบาล
พยาบาลต้องประเมินอาการประสาทหลอนที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยว่าเกี่ยวข้องกับระบบ รับสัมผัสใด ผู้ป่วยแสดงปฏิกิริยาอย่างไรต่อการรับรู้นั้นๆ และอาการประสาทหลอนเกิดขึ้นในช่วงเวลาใด
ถ้าพยาบาลพบผู้ป่วยที่ก าลังแสดงอาการประสาทหลอน พยาบาลควรบอกสิ่งที่เป็นจริง (Present reality) กับผู้ป่วยในขณะนั้น
พยาบาลตอ้งแสดงการมรับยอมรับอาการประสาทหลอนของผปู้่วย ซ่ึงทา ไดโ้ดยการ รับฟังและไม่โต้แย้ง แต่ถ้าผู้ป่วยถามว่าพยาบาลเห็นหรือได้ยินเช่นเดียวกับผู้ป่วยหรือไม่ พยาบาลควรตอบ ให้ผู้ป่วยรู้ว่าพยาบาลไม่เห็นหรือไม่ได้ยิน
หลีกเลี่ยงการเข้าไปจับต้องตัวผู้ป่วย ก่อนผู้ป่วยจะรู้ตัวเพราะผู้ป่วยมีแนวโน้มจะตีความ หรือรับรู้ผดิ
ไม่ส่งเสริมและลดโอกาสในการเกิดอาการประสาทหลอนต่างๆ โดยการสนทนากับผู้ป่วย ด้วยถ้อยค าที่ชัดเจน เรียกชื่อผู้ป่วยให้ถูกต้อง และกระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
เปิดโอกาสใหผ้ปู้่วยพดูถึงอาการประสาทหลอน และหาวธิีที่จะใหผ้ปู้่วยเผชิญอาการ ประสาทหลอนของเขาอย่างเหมาะสม
ให้ผู้ป่วยแยกแยะว่าอาการประสาทหลอนที่เกิดขึ้นนั้น เขารู้สึกอย่างไร อาการเกิดขึ้นใน ช่วงเวลาใด หรือมีเหตุการณ์อะไรน ามาก่อน เพราะผู้ป่วยจะได้รู้จักป้องกันตนเองไม่ให้เกิดอาการรุนแรงขึ้น พยาบาลต้องตระหนักว่า มีอาการประสาทหลอนบางประเภทมีแนวโน้มจะท าให้ผู้ป่วยมีปฏิกิริยาโต้ตอบ รุนแรง
มีความบกพร่องในการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจความต้องการของตนเนื่องจากมีพฤติกรรม แยกตวัจากผอู้ื่น
การพยาบาล
เมื่อสัมพนัธภาพดา เนินมาสักระยะ พยาบาลควรชักชวนผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ซึ่ง กิจกรรมระยะแรกควรเป็นกิจกรรมที่ง่ายๆ ไม่ต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัว และมีสมาชิกกลุ่มไม่มากเกินไป กระตุ้นให้ผู้ป่วยสื่อสารมากขึ้น เช่น จัดกิจกรรมสร้างความคุ้นเคย มีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์กัน มีกิจกรรม การแนะน าตนเองให้ผู้อื่นรู้จัก พยาบาลควรร่วมกิจกรรมกลุ่มพร้อมกับผู้ป่วย เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกอบอุ่น สบายใจ เมื่อเห็นคนที่คุน้เคย
เปิดโอกาสใหผ้ปู้่วยไดเ้ป็นตวัของตวัเอง โดยกระตุน้ให้ผปู้่วยท ากิจกรรมกับสมาชิกอื่นที่ ผปู้่วยพอใจ และพยาบาลควรให้ก าลังใจ หรือแรงเสริม เมื่อเห็นผปู้่วยร่วมในกิจกรรม
พยาบาลต้องน าเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบ าบัดมาใช้ เช่น ในกรณีที่พูดหลายเรื่อง พยาบาลควรให้ผู้ป่วยหยุดพูดเป็นครั้งคราว และกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้อธิบายสิ่งที่เขาได้พูดไป กรณีผู้ป่วยไม่พูด หรือไม่โต้ตอบ พยาบาลควรใช้การตีความหรือการคาดเดาจากภาษาท่าทาง(non-verbal) ของผปู้่วย และ กระตุน้ผปู้่วย โดยการวเิคราะห์ความรู้สึกขอผปู้่วย (verbalizing the implied)
พยาบาลต้องตระหนักว่า พฤติกรรมแยกตังนี้เป็นปัญหาด้านความสามารถทางด้านสังคมที่ เกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพของผปู้่วย ดังนั้นพยาบาลต้องอดทนให้เวลาผปู้่วยในการปรับปรุง
พยาบาลสร้างสัมพนัธภาพแบบ one to one เพื่อใหผ้ปู้่วยรู้สึกปลอดภยั และไวว้างใจ จดั เวลาเข้าไปพบและพูดคุยกับผู้ป่วยอย่างสม ่าเสมอ ถึงแม้จะไม่เข้าใจสิ่งที่ผู้ป่วยพูด หรือผู้ป่วยไม่โต้ตอบ เพราะ จะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองได้รับการยอมรับและยังเป็นที่ต้องการของผู้อื่นพยาบาลควรสื่อสารกับผู้ป่วย อย่างชัดเจน เช่น สื่อสารกับผู้ป่วยด้วยประโยคสั้นๆเข้าใจง่าย เรียกชื่อผู้ป่วยให้ถูกต้อง
พยาบาลควรประเมินลักษณะการสื่อสารของงผู้ป่วยว่ามีความพกพร่องอย่างไร เช่น พูด หลายเรื่องผสมกันจนคนฟังไม่เข้าใจ หรือไม่พูดเพราะอาการทางจิตต่างๆ
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
กระบวนความคิด ภาษาที่ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ (Disorganized thinking/speech)
จากการสังเกตคำพูด (speech)
ตอบไม่ตรงคำถาม (irrelevant)
พูดเปลี่ยนเรื่องไปเรื่อย (lose association)
พฤติกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ หรือยุ่งเหยิงไม่เป็นระบบ
พฤติกรรมกระวนกระวาย ไม่อยู่นิ่ง สายตาวอกแวก
อาการประสาทหลอน (Hallucination)
เป็นการรับรู้ที่ผิดปกติของประสาทสัมผัสทั้งห้าของร่างกาย คือ ทางหู ตา สัมผัส กลิ่น และรส โดยปราศจากสิ่งเร้าภายนอก
พบอาการหลอนเป็นหูแว่ว (auditory hallucination) ได้บ่อยที่สุด
อาการด้านลบ (Negative symptoms)
ปริมาณการพูดที่ลดลง (Alogia)
การมีความสุขจากกิจกรรมต่างๆ ที่เคยชอบหรือสนใจลดลง (Anhedonia)
แรงกระตุ้นภายในที่ลดลง
การเข้าสังคมที่ลดลง (Asociality)
การแสดงอารมณ์ที่ลดลง
อาการหลงผิด (Delusion)
Grandiose delusions หลงผิดเชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น
Erotomanic delusions หลงผิดเชื่อว่าผู้อื่นหลงรักตนเอง
Referential delusions หลงผิดเชื่อว่าท่าทาง คำพูดของบุคคลอื่น สภาพแวดล้อมนั้นมีความหมายสื่อถึงตนเอง
Nihilistic delusions หลงผิดเชื่อว่ามีสิ่งเลวร้ายเกิดขึ้นกับตัวเอง
Persecutory delusions หลงผิดเชื่ือว่าตนเองจะโดนปองร้าย
Jealousy delusions หลงผิดเชื่อว่าคู่ครองนอกใจ
Somatic deiusions หลงผิดที่มีเนื้อหาเจาะจงกับอาการทางร่างกาย
Thought insertion หลงผิดเชื่อว่ามีพลังอำนาจบางอย่างใส่ความคิดที่ไม่ใช่ของตนเองเข้ามา
Thought withdrawal หลงผิดเชื่อว่าความคิดตัวเองนั้นหายไปโดยพลังอำนาจบางอย่าง
Thought Controlled อาการหลงผิดที่เชื่อว่าพลังอำนาจบางอย่างควบคุมความคิดตนเอง
กฏหมาย พ.ร.บ. ที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติ สุขภาพจิต พ.ศ.2551
มาตรา 18
การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟา การกระทําต่อสมองหรือระบบประสาทหรือ การบําบัดรักษาด้วยวิธีอืนใด ทีอาจเปนผลทําให้ ร่างกายไม่อาจกลับคืนสู่สภาพเดิมอย่างถาวรให้กระทําได้
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความความจําเปนอย่างยิง
ทังนี โดยความเห็นชอบเปนเอกฉันท์ของ คณะกรรมการสถานบําบัดรักษา
พือประโยชน์ของผู้ปวยหากมิได้ บําบัดรักษาจะเปนอันตรายถึงแก่ชีวิตของผู้ปวย
กรณีผู้ปวยให้ ความยินยอมเปนหนังสือเพือการบําบัดรักษานัน
โดยผู้ปวยได้ รับทราบเหตุผล ความจําเปน ความเสียงทีอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนทีเปนอันตรายร้ายแรง หรืออาจเปนผลทําให้ไม่สามารถ แก้ไขให้ร่างกายกลับคืนสู่สภาพเดิม
ผู้ปวยได้ รับทราบประโยชน์ของการบําบัดรักษา
มาตรา 22
บุคคลทีมีความผิดปกติทางจิตในกรณีใดกรณีหนึงดังต่อไป นีเปนบุคคลทีต้อง ได้รับการบําบัดรักษา
มีภาวะอันตราย
มีความจําเป็นต้องได้รับการบําบัดรักษา
มาตรา17
การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้
กรณียกเว้น เมื่อมีความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อตัวผู้ป่วย บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อื่น โดยต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด
มาตรา 21
จะกระทําได้ต่อเมือผู้ปวยได้รับการอธิบายเหตุผลความจําเป็น ในการบําบัดรักษา รายละเอียดและประโยชน์ของการบําบัดรักษาและได้รับความยินยอมจากผู้ปวย
เว้นแต่เป็นผู้ป่วยตาม มาตรา 22 ถ้าต้องรับผู้ปวยไว้ในสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษา
ความยินยอมตามวรรคหนึง ต้องทําเปนหนังสือ และลงลายมือชือผู้ป่วยเป็นสําคัญ
ในกรณีทีผู้ปวยมีอายุไม่ถึงสิบแปดปบริบูรณ์ หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ ความยินยอมรับการบำบัดรักษา
ให้ คู่สมรส ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ผู้อนุบาล หรือผู้ซึง ปกครองดูแลบุคคลนัน แล้วแต่กรณี เปนผู้ให้ความยินยอมตามวรรคสองแทน
มาตรา 15
ผู้ป่วยย่อมมีสิทธิ์ ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตราฐานทางการแพทย์ โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่2 อาการขึ้นไปนาน1 เดือน
อาการหลงผิด
พฤติกรรมเรื่อยเปื่อย วุ่นวาย มีท่าทางแปลกๆ
พูดจาสับสน มักเปลี่ยนเรื่องจนฟังไม่เข้าใจ
อาการด้านลบ ได้แก่ อาการเฉยเมย ไม่ค่อยพูด หรือเฉื่อยชา
อาการประสาทหลอน
กิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับหน้าที่การงาน การคบหากับพูดคุยกับผู้อื่นแย่ลงมาก หรือไม่สนใจดูแลสุขอนามัยของตนเองอย่างมาก
มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไป โดยมีระยะอาการกำเริบดังข้างต้น นานอย่างน้อย 1 เดือน และระยะที่เหลืออาจเป็นระยะเริ่มมีอาการหรือระยะหลงเหลือ
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ระยะควบคุมอาการ
ทำให้ผู้ป่วยสงบลง นอนหลับได้เวลากลางคืน
บางรายอาจใช้ยาภายใน3-4วันอาการก็จะดีขึ้น บางรายถ้าพบประสาทหลอนอาจใช้ระยะเวลาประมาณ1สัปดาห์
ระยะให้ต่อเนื่อง
เพื่อไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ
การรักษาด้วยไฟฟ้า Electroconvulsive therapy(ECT)
ข้อบ่งชี้ในการรักษาด้วยไฟฟ้า
ผู้ป่วยทนต่อผลข้างเคียงของยาไม่ได้
ผู้ป่วยต้องการผลรักษาที่รวดเร็ว
ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา
วิธีที่ใช้
รักษาด้วยไฟฟ้าแบบ Unmodified
ไม่มีการใช้ยานำสลบ
การรักษาด้วยไฟฟ้าแบบ Modified
มีการใช้ยานำสลบ
เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยเกิดอาการชัก (Generalized Seizure)