Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายนักท่องเที่ยวชาวตุรกี - Coggle Diagram
ผู้ป่วยชายนักท่องเที่ยวชาวตุรกี
การดูแลผู้ป่วยรายนี้โดยอาศัยหลักของแนวคิดทฤษฎี Transcultural nursing
ความเคารพในวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ช่วยให้ผู้ป่วยปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยด้านต่างๆเช่น การได้รับยาเกี่ยวกับโรค auto immune หรือความต้องการที่จะไปละหมาด
ให้การสนับสนุนด้านอาหารและโภชนาการ
ใช้ภาษาในการสื่อสารกับผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเด็นใดบ้างจากสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลข้ามวัฒนธรรม
ชาวตุรกี
ต้องการไปละหมาด
รับประทานอาหารฮาลาล
ขอช้อนส้อม แทนช้อนแบบสั้นที่โรงพยาบาลเตรียมให้เนื่องจากใช้ได้ไม่ถนัด
สื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ
หากนักศึกษาได้รับการดูแลดังกล่าว นักศึกษาจะให้การพยาบาลที่เหมาะสม และนำมาวางแผนการพยาบาลเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ทางการพยาบาลที่มีประสิทธิภาพที่สุดได้อย่างไรบ้าง ที่ทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลภายใต้ความแตกต่างเหล่านั้น (ระบุข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล และกิจกรรมการพยาบาลตามข้อมูลที่มีอยู่ ภายใต้ 5 กระบวนการพยาบาล)
การประเมินภาวะสุขภาพ( Assessment )
กระดูกไหปลาร้าหักแบบปิด (Mild head injury with close fracture of right clavicle)
ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย เนื่องจาก ปวดแผล เวียนศีรษะ
แขนด้านขวาถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
มีแผลแตกบริเวณคิ้วด้านขวา
มีโรคประจำตัวคือโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบ Auto immune
การปฏิบัติการพยาบาล( Implementation )
ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้ตรงเวลา ครบ 3มื้อ และเนื่องจากผู้ป่วยนับถือศาสนา ต้องการรับประทานอาหารฮาลาลและ Gluten free จึงควรจัดให้ตามความต้องการทางความเชื่อ วัฒนธรรมของผู้ป่วย
แนะนำให้ผู้ป่วยพักผ่อนให้เพียงพอ นอนหลับอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
ใช้วิธีการพูดคุย กับผู้ป่วยสอบถามปัญหา ผลกระทบที่เกิดขึ้นหลังจากที่มีอาการเจ็บป่วยแนะนำวิธีการใช้ชีวิต เพื่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ป่วยกับพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล( Evaluation )
ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหว และช่วยเหลือตัวเองได้
สภาวะร่างกายและจิตใจดีขึ้นเป็นปกติ ลดความกังวลและเกิดความไว้วางใจ ยินยอมที่จะรักษา
อาการของผู้ป่วยดีขึ้น หายจากการเจ็บป่วย
3.การวางแผนการพยาบาล( Nursing Plan )
พยาบาลต้องสร้างสัมพัธภาพที่ดีกับผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยลดความกังวล
ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสม
การรักษาอาการที่ผิดปกติ
การวินิจฉัยการพยาบาล( Nursing diagnosis )
มีความกังวล เนื่องจากสื่อสารกับพยาบาลไม่เข้าใจว่า ตนเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบ Auto immune และต้องรับยาในอีก 3วัน
ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง เนื่องจากปวดแผล เวียนศีรษะ แขนขวาถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
วิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลของพยาบาล/เจ้าหน้าที่ ทั้งที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมในการดูแลจากสถานการณ์ พร้อมแนวทางส่งเสริมหรือแก้ไข โดยอิงทฤษฎี Transcultural nursing
พฤติกรรมการดูแลที่ไม่เหมาะสม
พยาบาลบ่นบ่นกับหัวหน้าเวรว่า “คนไข้ฝรั่งเตียงนั้นเรื่องมากจัง น่ารำคาญ”เนื่องจาก ผู้ป่วยพยายามถามว่าอาหารที่ตนได้รับ เป็น อาหารฮาลาล และ Gluten free หรือไม่ พร้อมทั้งพยายาม ขอส้อม แทนช้อนแบบสั้น
แนวทางการแก้ไข
พยาบาลควรใส่ใจเรื่องศาสนาและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
ไม่ให้ผู้ป่วยไปละหมาดและขึ้นไปเยี่ยมแฟนของตนที่พักรักษาตัวพร้อมกัน ณ หอผู้ป่วยหญิง เพราะพยาบาลกลัวเกิดอุบัติเหตุ อันตรายกับผู้ป่วย
แนวทางการแก้ไข
พยาบาลช่วยพยุงผู้ป่วยไปละหมาด หากไปไม่ได้จริงๆ ควรพูดด้วยข้อความที่เหมาะสม มีเหตุ มีผล
ให้พยาบาลพาผู้ป่วยไปหาแฟน หรือบอกกับผู้ป่วยว่าให้ผู้ป่วยอาการดีขึ้นก่อน ถึงไปได้
ผู้ป่วยส่งใบนัดให้พยาบาลดู เมื่อพยาบาลดูแล้วส่งคืนแล้วไม่พูดอะไร
แนวทางการแก้ไข
พยาบาลท่านนั้นควรนำใบนัดไปปรึกษาพยาบาลหรือหมอท่านอื่น รวมถึงบุคลากรทุกคนที่เข้าใจ แล้วมาอธิบายให้ผู้ป่วยฟัง เพื่อให้ผู้ป่วยสบายใจ และไม่กังวล
รายงานการวางแผนการให้การพยาบาล
ขั้นตอนการประเมินสภาพ (Assesment)
1.ข้อมูลส่วนบุคคล
เพศชาย อายุ- เชื้อชาติตุรกี สัญชาติ- ศาสนาอิสลาม ระดับการศึกษา- สถานภาพ- อาชีพ- รายได้- ที่อยู่ปัจจุบัน- ภูมิลำเนาเดิมจังหวัด- วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล-
2.การวินิจฉัยโรคแรกรับ (First Diagnosis) : Mild head injury with close fracture of right clavicle(กระดูกไหปลาร้าหักแบบปิด)
การวินิจฉัยโรค.............................................................................................................
การผ่าตัด............................................วันที่ผ่าตัด.......................................
3.ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพของผู้รับบริการ
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
ประสบอุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต์ล้ม มีแผลแตกบริเวณคิ้วด้านขวา
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบ Auto immune
ประวัติการแพ้
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
4.ข้อมูลแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
-ทานยาหรือแพ้ยาอะไรบ้าง
-ดูแลสุขภาพตนเองอย่างไร
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
ผุ้ป่วยต้องการรับประทานอาหารฮาลาลและรับประทานอาหาร Gluten free ไม่ได้
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม -ผู้ป่วยมีการขับถ่าย อุจจาระ ปัสสาวะกี่ครั้งต่อวัน และวันนี้ขับถ่ายกี่ครั้ง
แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกกำลังกาย
สอบถามข้อมูลเพิ่ม -ผู้ป่วยออกกำลังกายกี่ครั้งต่อสัปดาห์ และครั้งละกี่นาที
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
สอบถามข้อมูลเดิ่มเติม -นอนวันละกี่ชั่วโมง นอนหลับสบายดีไหม ตื่นกลางคืนไหม ตื่นมาแล้วรู้สึกง่วงซึมไหม
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
-รับรู้และสามารถตอบได้ แต่การสื่อสารระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยค่อนข้างไม่เข้าใจกัน เนื่องจากพยาบาลพูดและฟังภาไม่เข้าใจ
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม -ชื่ออะไร อายุเท่าไร รู้สึกปวดตรงไหนอีกบ้าง
แบบแผนที่ 7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม -ตอนที่เจ็บป่วยเป็นอย่างไรบ้าง แตกต่างกับตอนที่ไม่เจ็บอย่างไรบ้าง
-ทำอาชีพอะไร
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
-ไม่มีญาติมาดูแล มีแต่แฟนของตนที่พักรักษาด้วยตัวพร้อมกันที่หอผู้ป่วยหญิง
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
-ตอนนี้สัมพันธภาพในครอบครัวเป็นอย่างไรบ้าง
-ทำอาชีพอะไร
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้ป่วย และแฟนสาว -เวลามีเพศสัมพันธ์มีการป้องกันไหม
แบบแผนที่ 10 การปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
-มีสีหน้ากังวลเนื่องจากการสื่อสารที่ไม่สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้ป่วย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้ป่วย -หลายวันที่ผ่านมามีเรื่องกังวลอะไรไหม -หากมีความเครียดจะจัดการความเครียดอย่างไร
แบบแผนที่ 11 คุณค่าและความเชื่อ
-ผุ้ป่วยนับถือศาสนาอิสลามต้องการไปละหมาด
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
-มีความเชื่อด้านสุขภาพอย่างไร
-เชื่อมั่นในการรักษาของแพทย์อย่างไร
สรุปสภาวะผู้ป่วยในปัจจุบัน
แรกรับผู้ป่วยมีอาการมีแผลแตกบริเวณคิ้วด้านขวา และ แพทย์วินิจฉัย Mild head injury with close fracture of right clavicle (กระดูกไหปลาร้าหักแบบปิด) ในอีก 3 วัน ข้างหน้า ต้องได้รับยาโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบ Auto immune
ขณะพักรักษาตัว ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้น้อย เนื่องจาก ปวดแผล เวียนศีรษะ และแขนด้านขวาถูกจำกัดความเคลื่อนไหว
ผู้ป่วยมีสีหน้าไม่สดชื่น มีน้ำตาคลอเบ้า เอนตัวนอนทั้งวัน ทานอาหารมื้อเย็นน้อยลง
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
https://i.imgur.com/k75cjw0.jpg
การรักษาทางยาในปัจจุบัน
https://i.imgur.com/Awc1dN0.jpg
การวิเคราะห์ข้อมูลจากการรวบรวมข้อมูลที่เป็นปัญหาจาก 11 แบบแผนของกอร์ดอน (DATA ANALYSIS GORDON’S FUNCTIOONAL HEALTH PATTERN)
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 1
ไม่มีข้อมูลจากสถานการณ์
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 2
ผู้ป่วยมีปัญหาการรับประทานอาหาร ทานมื้อเย็นได้น้อย เพราะผู้ป่วยไม่ทราบว่าอาหารที่โรงพยาบาลเป็นอาหารฮาลาลและมีส่วนผสมของ Gluten free เนื่องจากพยาบาลให้ข้อมูลที่ไม่เพียงพอแกผู้ป่วย
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 3
ไม่มีข้อมูลจากสถานการณ์
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 4
ไม่มีข้อมูลจากสถานการณ์
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 5
ผู้ป่วยมีปัญหาในการพักผ่อนนอนหลับ เช่น มีการนอนทั้งวัน
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 6
ไม่มีข้อมูลจากสถานการณ์
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 7
ไม่มีข้อมูลจากสถานการณ์
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 8
ไม่มีข้อมูลจากสถานการณ์
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 9
ไม่มีข้อมูลจากสถานการณ์
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 10
ผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องการปรับตัว เช่น เรื่องของภาษา เพราะมีความกังวลในเรื่องของการสื่อสารกับพยาบาล
ความเบี่ยงเบนในแบบแผนที่ 11
ไม่มีข้อมูลจากสถานการณ์
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 1 ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผล
ข้อมูลสนับสนุน
S:ปวดแผล เวียนศีรษะ
O:
วัตถุประสงค์
บรรเทาอาการปวดแผลให้ดีขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
อาการปวดแผลลดลง
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
ประเมินอาการปวดแผลโดยการสังเกตอาการปวดจากสีหน้าผู้ป่วย จัดท่านอนให้ผู้ป่วย เพื่อลดการเจ็บปวดจากท่านอนปกติ
การประเมินผล
อาการปวดแผลลดลง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 2 ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยเนื่องจากแขนขวาถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ข้อสนับสนุน
S:
O:แขนขวาถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
วัตถุประสงค์
ช่วยให้แขนขวากลับมาใช้งานได้ปกติ
เกณฑ์การประเมินผล
1.ให้กระดูกแขนขวาเชื่อมต่อกันเร็วขึ้น
2.ช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
3.สามารถเคลื่อนไหวแขนขวาได้โดยไม่ปวด
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยทานอาหารที่มีแคลเซียม เพื่อช่วยให้กระดูกเชื่อมติดกันเร็ว
การทำกายภาพบำบัด เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรงและยืดหยุ่นมากขึ้น
การประเมินผล
ขยับแขนขวาได้ปกติ ช่วยเหลือตนเองได้ เช่น หยิบแก้วน้ำเองได้ ตกข้าวกินเองได้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 3 เสี่ยงต่อการขาดสารอาหารเนื่องจากทานอาหารได้น้อยลง
ข้อสนับสนุน
S:
O:
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้มากขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
1.น้ำหนักเพิ่มขึ้น
2.รับประทานอาหารได้ครบ 3 มื้อ
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
1.อธิบายความสำคัญของการรับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อ เพราะทำให้ผู้ป่วยเห็นว่าการ รับประทานอาหารที่เพียงพอและมีประโยชน์สำคัญต่อการดำเนินชีวิต
2.ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม เพราะผู้ป่วยต้องรับประทาน อาหารเฉพาะที่มีฮาลาลและอาหารที่ไม่มี Gluten free เป็นส่วนผสม
การประเมินผล
น้ำหนักของผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 4 ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเนื่องจากไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันตามความต้องการได้
ข้อสนับสนุน
O:ผู้ป่วยมีสีหน้าไม่สดชื่น เก็บตัวนอนทั้งวัน S:ผู้ป่วยพยายามแจ้งว่าตนเองไหวและอยากไปละหมาดด้วย
วัตถุประสงค์
ลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยแสดงสีหน้าสบายใจขึ้น ปฏิบัติตามคำแนะนำต่างๆได้ดี
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
1.สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วย เพื่อให้การช่วยเหลืออย่างเอื้ออาทร
2.ประเมินความรู้สึกของผู้ป่วย เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดระบายความรู้สึกออกมาและซัก ถามเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย
3.อธิบายวัตถุประสงค์และขั้นตอนในการรักษาพยาบาลต่างๆให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจมากที่สุด เพื่อความสบายใจของผู้ป่วย
4.ให้ผู้ป่วยได้กำหนดและควบคุมการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆได้ด้วยตนเองโดยไม่ขัดต่อ แผนการรักษาของแพทย์เพื่อความต้องการของผู้ป่วย
การประเมินผล
ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น ไม่มีความวิตกกังวล
การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย หรือนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องมาสนับสนุนเพื่อให้การพยาบาลผู้ป่วยที่เหมาะสม (5 คะแนน) พร้อมแนบเอกสารที่สืบค้นไว้ในภาคผนวก
สำหรับผู้ป่วยรายนี้ได้มีการสืบค้นข้อมูลงานวิจัย หรือนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องมาสนับสนุนเพื่อให้การพยาบาลผู้ป่วยที่เหมาะสม คือ
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมหรือการปฏิบัติทางสุขภาพของผู้ป่วยที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกัน ส่วนใหญ่มาจากทฤษฎีการดูแลต่างวัฒนธรรมของไลน์นิงเจอร์ ซึ่งมุ่งเน้นการดูแลผู้ป่วยให้สอดคล้องกับความต้องการตามเชื้อชาติ และวัฒนธรรมของผู้ป่วย โดยยึดหลักการดูแลแบบองค์รวม เพื่อช่วยให้พยาบาลวิเคราะห์ถึงปัจจัยต่างๆทั้งหมดที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพหรือการเจ็บป่วยของบุคคลในบริบทสังคมวัฒนธรรมนั้นๆ เป็นทฤษฎีที่พัฒนาขึ้นเพื่ออธิบายถึงสิ่งต่างๆที่มีผลต่อแนวคิดและวิถีชีวิตของตนในแต่ละสังคม ซึ่งกล่าวถึงระบบการดูแล แนวทางหรือวิธีการต่างๆที่จะนำไปสู่การให้การพยาบาลที่ยังประโยชน์และเหมาะสมกับแนวทาง การดำรงชีวิตของบุคคลหรือกลุ่มคนที่ได้รับการพยาบาลในการประยุกต์แนวคิดนี้ จำเป็นต้องอาศัยกระบวนการที่สำคัญเพื่อให้พยาบาลมีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับผู้ให้บริการต่างวัฒนธรรม 3 ประการ
1) กระบวนการที่พยาบาลให้การดูแลโดยคำนึงถึงและเคารพซึ่งวัฒนธรรมความเชื่อของผู้ป่วย (cultural care preservation/maintenance)
2) กระบวนการที่พยาบาลมีส่วนร่วมให้ผู้ป่วยเรียนรู้ที่จะปรับตัวต่อสิ่งต่างๆอย่างค่อยเป็นค่อยไปและช่วยให้ผู้ป่วยสามารถต่อรองกับบุคคลากรหรือทีมสุขภาพในเรื่องของการรักษาพยาบาลได้ (cultural care accommodation/negatiation)
3.กระบวนการที่พยาบาลสามารถช่วยให้ผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงหรือปรับแต่งแนวการปฏิบัติและวิถีการดำรงชีวิตของตนให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและรูปแบบของการดูแลสุขภาพจากทีมสุขภาพ (cultural care repatterning/restructuring)
นอกจากนี้ยังพบว่าทัศนคติของพยาบาลมีความสำคัญในการประเมิน ต้องลดความเหมารวมและพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการเหยียดผิว เชื้อชาติ และความเชื่อทางศาสนา ต้องดูแลให้เหมือนกันไม่ว่าจะยากจนหรือร่ำรวย พยาบาลจึงต้องให้ความสำคัญกับการดูแลตามวัฒนธรรมความเชื่อของบุคคลและกลุ่มวัฒนธรรมที่หลากหลายไปพร้อมๆกัน ดังนั้นการพัฒนาความรู้และทักษะของพยาบาลในการดูแลผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรมต้องปรับเปลี่ยนให้เข้าสู่ความเป็นสากลมากขึ้นไม่ว่าจะป็นเรื่องด้านการสื่อสาร อาหารการกิน ความเชื่อต่างๆ ขณะเดียวกันยังต้องรักษาหรือคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมการดูแลที่มีความเป็นเอกลักษณ์เดิมด้วย