Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการศึกษาไทย กับการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น, นางสาวปภัสสร ก๋าเขียว…
การจัดการศึกษาไทย
กับการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
หลักสูตร
:no_entry:สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (2557, น. 17-18)
กล่าวไว้ว่า
หลักสูตรการผลิตครู
ไม่สอดคล้องกับการปฏิบัติจริง
ขาดการประสานงานระหว่างหน่วยผลิตครูและหน่วยใช้ครู
จำนวนครูที่จบไม่สอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริงคือมีมากกว่าความต้องการในภาพรวม แต่ครูกลับ
ขาดแคลนในบางสาขาวิชา
:no_entry:
ปัญหาการขาดแคลนครู
เป็นปัญหาสืบเนื่องจากปัญหาการผลิตครู ทำให้ขาดแคลนครูทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยเฉพาะสาขาวิชาเฉพาะหรือสาขาวิชาขาดแคลน
(สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 2557, น. 19)
:recycle:
แนวทางการพัฒนาตนเอง
:check:เข้าร่วมโครงการครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น และปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด
เพื่อจะได้บรรจุตามถิ่นฐานบ้านเกิด เพื่อลดปัญหาการโยกย้าย
ออกจากพื้นที่และช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนครูอีกทางหนึ่งด้วย
ครู
:no_entry:สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ได้ทำการสำรวจตารางชีวิตครูไทยใน 1 ปี พบว่า
ครูไทยถูกดึงเวลาจากการทำหน้าที่สอนให้ไปทำกิจรรมอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสอน
ซึ่งมากถึงร้อยละ 42 ของเวลาทั้งหมด
:no_entry:
ปัญหาหนี้สินครู
ทำให้ครูขาดขวัญกำลังใจในการทำงาน จนทำให้หางานพิเศษทำ ทำให้การสอนเป็นไปอย่างไม่เต็มที่ ส่งผลต่อการเรียนของผู้เรียน
และคุณภาพการศึกษา (สกสค.ตั้งกองทุนแก้หนี้ครู 2 หมื่นล้าน, 2559)
:no_entry:
ปัญหาคุณภาพครู
ขาดความรู้ความสามารถ ทักษะการสอน
รวมถึงขาดความตระหนักในหน้าที่ความรับผิดชอบ
:recycle:
แนวทางการพัฒนาตนเอง
:check:ให้ความสำคัญกับการสอนให้มากกว่างานอื่น จัดสรรเวลาในการทำงานอื่นและการสอนที่เหมาะสม เต็มที่กับการสอนให้มาก
:check:หาความรู้ใหม่ๆ และจุดไฟในตัวเองอยู่เสมอ
:check:เชื่อมั่นและศรัทธาในวิชาชีพครู
การจัดการศึกษา
:no_entry:จัดการเรียนการสอนในรูปแบบการถ่ายทอดเนื้อหาวิชาเพียงอย่างเดียว ทำให้นักเรียน
เรียนรู้ด้วยการท่องจำมากกว่าการต่อยอดทางความคิด
:no_entry:
ใช้วิธีการสอนเดิมๆ
ไม่ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน
:no_entry:
ขาดสื่อสนับสนุน
การเรียนการสอนและ
แหล่งเรียนรู้
:no_entry:
ขาดงบประมาณ
สนับสนุน
:pen: อ้างอิงจาก การวิจัยเรื่อง ปัญหาและแนวทางแก้ไข
การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนขยายโอกาศทางการศึกษาใน สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 (มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2560)
:recycle:
แนวทางการพัฒนาตนเอง
:check:สร้างสื่อและนวัตกรรมทางการศึกษาใหม่ๆ ให้แก่นักเรียน
:check:หาเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้กับผู้เรียน
:check:จัดกิจกรรมการสอนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้
:check:จัดหาสื่อที่มีความหลากหลายเพื่อให้พอเพียงต่อความต้องการของผู้ใช้
:check:ออกแบบการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ
ชุมชน
:no_entry:ศุภรัตน์ ปุ้งข้อ (2558) พบปัญหา ประชาชนส่วนใหญ่
ไม่ให้ความร่วมมือ
และ
ไม่ให้ความสำคัญกับการศึกษา
และ
ขาดการประสานงานระหว่างโรงเรียนและชุมชน
:no_entry:สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 พบว่า
หลักสูตรของโรงเรียน
มีความสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
แต่ยัง
ไม่ครอบคลุม
เท่าที่ควรหรืออาจเป็นเพราะว่า
ขาดความร่วมมือจากชุมชนและผู้ปกครอง
ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
:recycle:
แนวทางการพัฒนาตนเอง
:check:
สอบถาม สำรวจ ปัญหาและความต้องการของชุมชน
เพื่อนำมาจัดทำหลักสูตรให้สอดคล้องและครอบคลุม
:check:
จัดกิจกรรมที่ให้ชุมชนมีส่วนร่วม
ในการช่วยพัฒนาโรงเรียนและชุมชน
:check:
เป็นสื่อกลาง
ในการ
ประสานงานระหว่างโรงเรียนและชุมชน
เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน
:check:
เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน
:check:
ปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้สอดคล้องกับชุมชนและตัวผู้เรียน
:no_entry:สพป.พิษณุโลก เขต 1 พบว่า
ผู้ปกครองส่วนมาก
มีฐานะยากจน ประกอบอาชีพเกษตรกรและรับจ้างทั่วไป
ทำให้
ไม่มีเวลาดูแลบุครหลาน
และ
ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของทางโรงเรียน
นักเรียน
:no_entry:สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 พบว่า นักเรียน
ขาดเรียนบ่อย
และ
ไม่มีความรับผิดชอบในการเรียน
:no_entry:PISA ยังพบว่า เด็กไทย 74%
อ่านภาษาไทยไม่รู้เรื่อง
คือมีตั้งแต่
อ่านไม่ออก
อ่านแล้ว
ตีความไม่ได้
วิเคราะห์ความหมายไม่ถูก
หรือแม้แต่ใช้ภาษาให้เป็นประโยชน์ในการศึกษาวิชาอื่นๆ
:no_entry:การทดสอบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-Net) ในทุกๆ ปีนั้น เด็กไทย
มีความรู้ต่ำกว่ามาตรฐาน
อยู่เสมอๆ
:no_entry:จากผลวิจัยการดำเนินชีวิตและทัศนคติเด็กไทย โดยมูลนิธิเพื่อคนไทย พบว่าเด็กไทยกว่า 90%
ประสบภาวะความเครียด
โดยเฉพาะ
เรื่องการเรียนที่ใช้คะแนนและการสอบเป็นตัวชี้วัด
:no_entry:ผลสอบ PISA ของไทยในวิชาการอ่าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
พบว่า
นักเรียนไทยเกือบร้อยละ80 มีคะแนนต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยทั่วโลก
สะท้อนให้เห็นว่าคุณภาพการศึกษาไทยค่อนข้างต่ำมาก
เมื่อเทียบกับมาตรฐานโลก
:recycle:
แนวทางการพัฒนาตนเอง
:check:กระตุ้นการเรียนการสอนโดย
เสริมแรงทางบวก
เช่น ทุกครั้ง
ที่เข้าเรียนหรือตอบคำถาม รวมถึงมีความรับผิดชอบ
ต่อการทำงาน ส่งงานตรงเวลาที่ครูจะให้แต้มคะแนน
เพื่อเป็นรางวัล เป็นต้น
:check:จัด
กิจกรรมที่ส่งเสริม
ให้ผู้เรียนได้
รู้จักคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปบทเรียนด้วยตนเอง
:check: จัดทำแผนการเรียนรู้โดย
ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
:check:
ออกแบบการเรียนการสอนที่หลากหลาย
เพื่อให้ผู้เรียน
เกิดองค์ความรู้ สนใจไม่เบื่อ และตั้งใจศึกษา
:check:
เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการลงมือทำ
มากกว่าการสอบเก็บคะแนน
:check:สอนสนุก ไม่ตรีงจนเกินไป จัดกิจกรรมผ่อนคลายบ้างในบางโอกาส
นางสาวปภัสสร ก๋าเขียว สาขาคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 5
ใบงานที่ 1
ปัญหาการจัดการศึกษาไทยกับการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น