Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ระบบประสาท และไขสันหลัง - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ระบบประสาท และไขสันหลัง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ เกี่ยวกับสมองใหญ่ (Cerebral Disorders)
ปวดศีรษะ (Headache)
Tension Headache
อาการ
-รู้สึกเหมือนมีเชือกมารัด โดยไม่ผ่อนคลายเลย
-กล้ามเนื้อของคอด้านหลังแข็งตึง
-ความรุนแรงไม่สม่ำเสมอ ขึ้นๆลงๆ
-อาการอยู่ต่อเนื่องหลายวัน
-มีอาการปวดนานกว่า 15 วัน ใน
1 เดือน
ปัจจัยกระตุ้น
-ความอ่อนล้า
-ความเครียด
Cluster Headache
-พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
-บางครั้งจัดอยู่ในกลุ่ม Migraine
อาการ
-ปวดรอบกระบอกตา เป็นๆหายๆ ติดต่อกันนาน
-อาการปวดอยู่นานตั้งแต่ 15 นาที ถึง 3 ชั่วโมง
-ลักษณะอาการปวดเป็นแบบปวดลึกๆน่ารำคาญ
-อาจมี Honner’s sysdrome คือ รูม่านตามเล็ก เยื่อตาขาวสีแดง น้ำมูก น้ำตาไหล
Migraine Headache
สาเหตุ
-เกิดจากหลอดเลือดหดตัวทำให้ขาดเลือดขึ้นไปสมอง
ปัจจัยกระตุ้น
-ยาลดความเครียด
-การอดอาหาร
-กินอาหารที่มีสาร Tyramine
อาการ
-ปวดศีรษะข้างเดียว ซึ่งเป็นด้านตรงข้ามกับข้างที่มีพยาธิสภาพ
-ปวดแบบตุ๊บๆ และเห็นเส้นเลือดเต้น
2.โรคลมชัก(Epilepsy)
หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการชัก (Seizure) เกิดขึ้นหลายครั้ง และมีโอกาสเกิดขึ้นซ้ำอีก อาการผิดปกติที่เกิดขึ้นจะคล้ายๆ หรือเหมือนกัน
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เกิดจากการขัดขวาง Neuron cell membrane ซึ่งมีสาเหตุจาก
-การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง
-มีการทิ่มแทงเข้าไปในเนื้อสมอง (50%)
-ความพิการของสมองตั้งแต่เกิด การบาดเจ็บของสมอง ระหว่างคลอด
-ปัญหาเกี่ยวกับการเผาผลาญ เช่น ภาวะขาดออกซิเจน น้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซียมในเลือดต่ำ
-การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง เนื้องอกในสมอง ติดเชื้อ บาดเจ็บซ้ำๆ ติดสุราเรื้อรัง สับสน เพ้อคลั่ง โรคอัลไซเมอร์
ชนิดของการชัก
ชนิดของการชัก แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
การชักเฉพาะที่ (Partial seizure)
1.1 การชักเฉพาะที่และไม่หมดสติ (Partial seizure with on loss of consciousness)
1.2 การชักเฉพาะที่แบบซับซ้อน (Complex partial seizure)
การชักทั้งตัว (Generalized seizure)
สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ดังนี้
1.Absence seizure : เกิดในวัยเด็กและวันรุ่นตอนต้น มีอาการหมดสติไปชั่วครู่ จ้อง เหม่อ นิ่ง การชักแบบนี้ต่อไปอาจเป็นแบบ Grand mal หรือ Partial seizure ได้
2.Myoclonic seizure : เป็นการกระตุกของกล้ามเนื้อ กลุ่มเดียวหรือหลายกลุ่ม โดยไม่สามารถควบคุมได้ บางที่ผู้ป่วยอาจล้ม
3.Clonic seizure : เป็นการชักที่มีการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อเป็นจังหวะ
4.Tonic seizure : เป็นการชักแบบเกร็งทั้งตัว
5.Tonic – Clonic seizure (Grand mal)
ภาวะชักอย่างต่อเนื่อง (Status Epilepticus) หมายถึง ภาวะที่ผู้ป่วยมีการชักติดต่อกัน ชักเร็วติดๆกัน โดยไม่มีระยะรู้สึกตัวเลย ซึ่งมีระยะเวลาชักอย่างน้อย 30 นาที
สาเหตุ : ส่วนใหญ่เกิดจากการหยุดยาต้านการชักกะทันหัน
การรักษา :
-ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ให้ออกซิเจน
-เฝ้าระวังอันตรายที่เกิดจากการชัก
-ให้ยาต้านการชัก เช่น Diazepam 5 – 10 mg, Lorazepam 4 mg, Phenytoin 15 – 18 mg/Kg
ทบทวนกายวิภาคศาสตร์ ระบบประสาท
โครงสร้างระบบประสาท
-ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central nervous system: CNS)
-ระบบประสาทส่วนปลาย
(Peripheral nervous system: PNS)
-ระบบประสาทอัตโนมัติ
(Autonomic nervous system: ANS)
การประเมินทางระบบประสาท
การซักประวัติ
อาการสําคัญ (Chief complain) ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present illness) ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (Past illness) ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history)
2.การตรวจร่างกายทางระบบประสาท
2.1 ระดับความรู&สึกตัว (level of consciousness : LOC)
2.2 การประเมินสัญญาณชีพ
การวัดสัญญาณชีพ เพื่อประเมินอันตรายจากการเริ่มมีภาวะรุนแรง ความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure)IICP หรือสูงถึงขั้นวิกฤต (Cushing’s reflex)
2.3 การประเมินระดับความรู้สึกตัวกลาสโกว์ (Glascow Coma Scale)
2.4 การตรวจปฏิกิริยารูม่านตา (Pupillary response)
2.5 การตรวจความตึงตัวของของกล้ามเน้ือ (Motor power)
การตรวจพิเศษทางห&องปฏิบัติการ (Neuro diagnostic Studies)
3.1 การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะและกระดูกสันหลัง
(Skull and spine radiographic)
3.2 การถ่ายภาพสมองด้วยคอมพิวเตอร์ (Computed Tomography: CT)
3.3 การถ่ายภาพโดยใช้คลื่นเสียง (Magnetic Resonance Imaging: MRI)
3.4 การตรวจหลอดเลือดสมองโดยวิธีฉีดสารทึบแสง (Magnetic Resonance Angiography : MRA)
3.5 การเจาะหลัง (Lumbar puncture)
โรคติดเชื้อทางระบบประสาท
1.เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitis)
สาเหตุ
-ติดเชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ Meningococci
(Neisseria meningitis),Pneumococci
(Strepococcus pneum onia),และ
Haem ophilus influenzae
การบาดเจ็บของสมอง
การติดเชื้อในร่างกาย
การติดเชื้อหลังผ่าตัดสมอง
การติดเชื้อในเยื่อหุ้มสมอง
การฉีดยาเข้า ทางไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
-คอแข็ง (Stiff neck)
-Brudzinski’s sign
-Kernig ’ s sign
-มีไข้ ปวดศรีษะ หนาวสั่น
-คลื่นไส้ อาเจียน
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะช็อคจากการติดเชื้อ (Septic shock)
ความดันในกะโหลกศรีษะสงู (IICP)
สมองบวมนำ้ (Brain swelling)
Hydrocephalus
การรักษาและการดูแล
การให้ยาปฏิชีวนะ (Antibiotic) ได้แก่ Cephalosporins, Rifampicin และ Vancomycin โดยให้อย่างน้อย 10 วัน
(** ถ้าทราบว่าเป็นติดเชื้ออะไร ก็ใช้ยาปฏิชีวนะที่
Sensitive)
รักษาสมดุลของสารน้ำ และอิเล็กโทรไลด์ในร่างกาย
ประเมินอาการทางระบบประสาท
เฝ้าระวังภาวะชักและเตรียมความพร้อมเพื่อให้ความ
ช่วยเหลือผู้ป่วยเมื่อเกิดภาวะชัก
2.ฝีในสมอง (Brain Abscess)
อาการแสดง
1.ปวดศรีษะ ง่วงซึม สับสน
2 .มีไข้ หนาวสั่น
3.ความดันในกระโหลกศรีษะสูง
4.ความผิดปกติของระบบประสาทชั่วคราว
การวินิจฉัย 1.CT 2.MRI
การรักษาและการดูแล
1.ให้ยาปฏชิวีนะที่นิยมให้คือPenicillin
2.ให้ยาปฏิชีวนะร่วมกับการผ่าตัดเนื้อออก
stereotactic (การใช้เข็มดูด ออกร่วมกับเครื่อง CT)
3.เนื้องอกสมอง BrainTumors
เนื้องอกสมอง เป็นก้อนที่ขยายตัวได้ในกะโหลกศรีษะ (Intracranial Expanding Lesion) ซึ่งทำให้เกิดการ สูญเสียหน้าที่ของสมองมีความพิการถึงเสียชีวิตได้
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิด
โรค คือ
พันธุกรรม (Genetic)
สิ่งแวดล้อม (Environment) เช่น สารเคมี
บาดเจ็บที่ศรีษะ (Head trauma)
การฉายรังสี (Radiation)
เชื้อไวรัส (Virus)
เคมีบำบัด (Immunosuppressant)
การวินิจฉัย - การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจพิเศษ
การรักษา
การผ่าตัดรักษา
การใช้รังสีรักษา
การให้เคมีบำบัด
subarachnoid hemorrhage (SAH)
สาเหตุ
-Arteriovenous Malformation (AVM)
-Aneurysm
-Cerebral Aneurysm
Cerebral Aneurysm
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
-เป็นตั้งแต่กำเนิด
-ผนังหลอดเลือดชั้นกลาง (Tunica media) อ่อนแอ
-ความดันโลหิตสูง
-หลอดเลือดแดงแข็ง และมีไขมันเกาะ (Atherosclerosis)
-สูงอายุ
-ความเครียด
-พบในเพศหญิงมากว่าเพศชาย
อาการแสดง
อาการแสดงนำ
-ปวดศีรษะ
-สับสน
-เวียนศีรษะ
อาการที่บ่งบอกว่าเกิด Aneurysm rupture
-ปวดศีรษะรุนแรง
-ง่วงซึม สับสน หรือบางรายอาจหมดสติทันที
-อาการของเยื่อหุ้มสมองถูกรบกวน ได้แก่ คอแข็ง (neck rigidity)
กลัวแสง (Photophobia) ปวดหลัง
-การเคลื่อนไหว การพูด และการทำงานของเส้นประสาทผิดปกติ
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.การตรวจพิเศษ
-CT Scan (* จะพบเมื่อมีเลือดปนในน้ำหล่อเลี้ยงสมองจำนวน 80% แต่หากไม่เห็นอาจต้องฉีดสารทึบรังสีก่อนทำ CT อีกครั้ง)
-Lumbar puncture
การรักษา
1.จำกัดกิจกรรม
2.ควบคุมระดับความดันโลหิตให้คงที่ เพื่อให้สมองได้รับการกำซาบเพียงพอ
3.ประเมินอาการทางระบบประสาท
4.ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เพื่อประเมินการทำงานของหัวใจ
5.ติดตามค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในร่างกาย
6.ลดภาวะหลอดเลือดหดตัว โดยใช้หลัก “Triple – H” (Hypertension, Hypervolemia, Hemodilution)
Arteriovenous Malformation (AVM)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
-เกิดขึ้นตั้งกำเนิด
-ขาดหลอดเลือดฝอยเชื่อมระหว่าง Artery กับ Vein จึงเกิดทางลัด ตรงกลางเป็นเส้นแดงใหญ่ เรียกว่า “nidus”
อาการแสดง
-ปวดศีรษะ
-ชัก
-มีเลือดออกในสมองน้อย
-SAH
*
ผู้ป่วยที่เคยมี AVM แตกแล้ว มีโอกาสแตกซ้ำถึง 25 %
การรักษา
1.การรักษาคล้ายกับผู้ป่วย Cerebral Aneurysm
2.การผ่าตัด
2.1 Endovascular Therapy and Embolization
2.2 Radiosurgery
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure)
กลุ่มอาการที่เป็นผลจากการมีความพร่องของสมดุลระหว่าง
ปริมาตรและความดันภายในกะโหลกศีรษะ
ความดันในกะโหลกศีรษะ (ICP) ~ 0–15 mm.Hg
ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นจะทำ
ให้เกิดอันตรายต่อเนื้อสมอง (brain injury) (>20 mm.Hg)
Compensation mechanism of IICP
1.Volume
-เพิ่มการขับน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ในสมองและ
เวนตริเคิล ลงสู่ไขสันหลัง
-เพิ่มการดูดกลับและลดการสร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
-มีการหดของหลอดเลือดสมอง และเพิ่มการไหลกลับของเลือดดำ
2.CBF
-autoregulation of cerebral blood flow
-ขนาดของหลอดเลือดจะขยายหรือหดตัว เพื่อให้ปริมาณเลือดหล่อเลี้ยงสมองอยู่ในระดับคงที่ และเนื้อเยื่อสมองได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ (แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง)
-แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง (Cerebral perfusion pressure [CPP]) = 70-100 มิลลิเมตรปรอท
-CPP = MAP – ICP
-MAP= 1/3
SBP + 2/3
DBP
Or MAP = SBP-DBP + DBP
3
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด IICP
-cerebral autoregulation สูญเสียไป
-ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (>45); vasodilatation
-เนื้อเยื่อสมองมีเลือดไปเลี้ยงลดลง; ท่านอนไม่เหมาะสม
-ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ (<60)
-ภาวะการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อสมอง
-Mechanisms that increase intrathoracic or intraabdominal pressure valsalva’ s maneuver IICP
-Body temperature Cerebral metabolic rate IICP
Clinical Manifestations IICP
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง (ซึมลงหรือสับสน)
Cushing's triad; hypertension, bradycardia, irregular respiration
ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง มี decorticate, decerebrate และกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการอื่นๆ เช่น ปวดศีรษะมาก อาเจียนพุ่ง* รูม่านตาบวม (papilledema)
อาการระยะท้าย; coma หยุดหายใจหรือหายใจแบบ Cheyne- strokes อุณหภูมิร่างกายจะเพิ่มขึ้น รูม่านตาขยายหรือไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง
Assessment
การซักประวัติ : การบาดเจ็บ/เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วย อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย : ประเมินระดับความรู้สึกตัว (LOC) Glasgow Coma Scale (GCS)Vital signs Cushing's triad pupil reaction, size, conjugate
-head injury
GCS 14-15 คะแนน minor head injury
GCS 9-13 คะแนน moderate head injury
GCS 3-8 คะแนน severe head injury
-pupil reaction
pupil reaction to light normal
pupil sluggish to light จาก N 3 ถูกกด(oculomotor nerve) สาเหตุจาก brain herniation, brain edema
pupil dilate > 6 ml. & non reaction to light coma พบร่วมกับ N 3 ถูกกด ผิดปกติข้างใด ความผิดปกติของสมองในซีกนั้น
Motor power; “6 grade”
เกรด 0 ไม่มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเลย
เกรด 1 สามารถมองเห็นหรือการคลำการหดตัวของ กล้ามเนื้อได้ แต่ไม่สามารถขยับข้อได้
เกรด 2 กล้ามเนื้อมีกำลังพอที่จะเคลื่อนไหวข้อตามแนวราบได้
เกรด 3 กล้ามเนื้อมีกำลังพอที่จะเคลื่อนไหวข้อต้าน แรงโน้มถ่วงได้ แต่ไม่สามารถต้านแรงผู้ตรวจได้
เกรด 4 กล้ามเนื้อมีกำลังพอที่จะเคลื่อนไหวข้อต้านแรงผู้ตรวจได้
แต่ไม่เต็มที่
เกรด 5 กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงปกติ สามารถเคลื่อนไหวข้อ ต้านแรงผู้ตรวจได้เต็มที่
การตรวจพิเศษอื่นๆ การวัดความดันในกะโหลกศีรษะ (ICP) การวัดความดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง (CPP)
= MAP – ICP การตรวจอื่นๆ ; CT- scan, MRI หลีกเลี่ยง การทำ Lumbar puncture; อาจทำให้เกิดภาวะ brain herniation ตามมา