Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลระบบหัวใจและหลอดเลือด, ศศิประภา ภิญโญยาง 611201140 - Coggle…
การพยาบาลระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจชนิดเขียว Tetralogy of Fallot (TOF)
ความผิดปกติ
มีการตีบหรือการอุดกั้นของทางออกเวนตริเคิลขวา
ผนังระหว่างเวนตริเคิลมีรูรั่ว (VSD) ขนาดใหญ่
ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติคเลื่อนไปทางด้านขวา
มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา
อาการและอาการแสดง
อาการเขียวทั่วร่างกาย
ร้องไห้แล้วเขียว
หลังดูดนม ออกแรงมาก
หายใจเหนื่อย
ประวัตินั่งยองๆเวลาที่มีอาการเหนื่อย
พบในเด็กอายุต่ำกว่า2ปี
ภาวะหัวใจวาย โดยเฉพาะในเด็กเล็กในช่วงอายุ2-3เดือนแรก
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
อาการเขียวเวลาออกแรงชอบนั่งยองๆเมื่อรู้สึกเหนื่อย
อาการเขียว หายใจหอบลึกจนตัว อ่อนหรือหมดหรือหมดสติไป
การตรวจร่างกาย
ฟังได้เสียง murmur ได้ต้ังแต่แรก เกิด
ชอบนั่งยองๆเวลารู้สึกเหนื่อย
เลือดฝอยทตาขาวมีสีคล้า(ejected eyes)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ภาพรังสีทรวงอก
คลื่นสียงสะท้อนหัวใจความถี่สูง จาก 2-D Echo
การสวนหัวใจและการฉีดสารทึบรังสี
การรักษา
เด็กมีอาการไม่มาก Hct50-60
เด็กที่มีประวัติของภาวะ hypoxic spells
ให้ propranolol ขนาด 1 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วันทาง ปากให้ ทุก 6 ชั่วโมง
hypoxic spells
จัดให้ด็กอยู่ในท่าเข่าชิดอก (knee chest position)
ให้สารน้ำและกลูโคสทางหลอดเลือดดำ
ให้โซเดียมคาร์บอเนต
การผ่าตัด
การผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการ
การผ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติ
ไข้รูมาติก
สาเหตุ
Bata-hemolytic streptococcus group A
ในทางเดินหายใจส่วนบน
พบได้บ่อยในเด็กอายุ 5-15 ปี
พยาธิสภาพ
Streptolysin O เป็นเอนไซม์ที่ ทำให้เม็ดเลือดแดงแตก
Streptolysin S เป็นเอนไซม์ที่ทพ ให้เม็ดเลือดแดงแตก
Erythrogenic toxin เป็นสารที่ ทำให้เกิดผืนในโรคไข้อีดาอีแดง (scarlet fever)
Deoxyribonuclease (DNAse) ทำให้เกิดแอนติบอด้ีโดยเฉพาะ DNAase B
อาการและอาการแสดง
ภายใน 1-3 wk. เฉลี่ยประมาณ 18 วัน
การติดกเชื้อซ้ำ
2 กลุ่ม ตาม Jones criteria
major manifestation
การอักเสบของหัวใจ (carditis)
ข้ออักเสบ (polyarthritis)
อาการทางประสาท (Sydenham’s chorea)
ผื่นตามผิวหนัง (erythema marginatum)
ปุ่มนูนใต้ผิวหนัง (erythema marginatum)
minor manifestation
มักเป็นไข้ต่ำๆ
ปวดข้อโดยไม่มีอาการอักเสบ (polyarthralgia)
เลือดกำเดาออก
ปวดท้อง ตำแหน่งปวดไม่แน่นอน
ปอดบวม มักเกิดร่วมกับอาการ หัวใจอักเสบรุนแรง
รู้สึกไม่สบายตัว เจ็บหน้าอก ซีด
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ เพื่อจากัดเชื้อ streptococcus group A benzathine penicillin 600,000 unit IM
โรคหัวใจรูมาติก
ลิ้นไมตรัลรั่ว (Mitral Regurgitation : MR)
อาการและอาการแสดง
หอบ
เหนื่อย
อ่อนเพลีย
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การผ่าตัดควรพิจารณาซ่อมแซมลิ้นไมตรัล
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral Stenosis : MS)
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยหอบเมื่อออกแรง
การรักษา
ยา
warfarin ร่วมกับ dipyridamole และให้ดิจิทาลิส
ผ่าตัด
Ballon mitral valvuloplasty เป็นการเพิ่มขนาดรูเปิดของลิ้น ไมตรัล
Closed mitral valvotomy เป็นการผ่าตัดขยายรูเปิดของลิ้น ไมตรัล
Open mitral valvotomy เป็นการ ผ่าตัดที่ศัลยแพทย์สามารถเห็น พยาธิสภาพของลิ้นไมตรัล
Mitral valve replacement เป็นการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเป็น ลิ้นหัวใจเทียม
หัวใจชนิดไม่เขียว
Aortic Stenosis (AS)
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย
เหนื่อยง่ายเวลาเดิน
เจ็บหน้าอก
เหนื่อยหอบ หายใจเร็ว
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram) อาจพบเวน ตริเคิลซ้ายโต
ภาพรังสีทรวงอก (Chest roentgenograms
การตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ ความถี่สูง จาก 2-D echocardiography
การตรวจสวนหัวใจ (Cardiac catheterization) และการฉีดสาร ทึบรังสี (angiography)
การรักษา
ผ่าตัดขยายลิ่นเอออร์ติค
percutaneous balloon aortic valvuloplasty เป็นการใช้สายสวน
Pulmonary stenosis (PS)
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยหอบง่าย
เจ็บแน่นหน้าอก เป็นมากขึ้นขณะ ออกกำลังกาย
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
คลำได้ systolic thrill
เสียง S2 เป็นเสียงแยก
ฟังได้เสียงsystolic ejection murmur ขัดที่ขอบซ้ายของกระดูก อกตอนบน
ตรวจEKG
ภาพถ่ายทรวงอก
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจความถี่สูง
การตรวจสวนหัวใจและการฉีดสารทึบรังสี
การรักษา
รายที่มี mild PS ไม่จาเป็นต้องทำ ผ่าตัด
moderate และ severe PS
ผ่าตัดขยายพัลโมนารีที่ตีบ มักทำในรายที่ ทำballoon valvuloplasty
ขยายลิ้นพัลโมนารีที่ตีบ ด้วยballoon catheter
Ventricular Septal Defect(VSD)
การไหลลัดของเลือด
VSD ขนาดเล็ก (Small VSD) รูรั่ว มีขาด 0.5
VSD ขนาดปานกลาง (moderate VSD) รูรั่วมีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณครึ่งหนึ่ง
VSD ขนาดใหญ่ (large VSD) รั่ว มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ใกล้ เคียงหรือใหญ่กว่าขนาด ของรูปิด
อาการและอาการแสดง
ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะเริ่มเขียว หายใจเหนื่อยหอบ
เหนื่อยง่ายเวลาดูดนม
พัฒนาการล่าช้า
นอนราบไม่ได้
การวินิจฉัย
ซักประวัติ การติดเชื้อในระบบหายใจบ่อยๆ ดูดนมใช้เวลานาน
ตรวจร่างกาย
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram)
ภาพรังสีทรวงอก (Chest roentgenograms)
การตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ ความถี่สูง (2-D echocardiography
การตรวจสวนหัวใจ (Cardiac catheterization)
การดูแล
การดูแล
การดูแลรักษาในระหว่างที่ยังไม่ได้ รับการผ่าตัด ป้องกันหัวใจวาย
ทานยาป้องกันภาวะหัวใจวาย และ ไม่หยุดยาเอง
ทานนม น้ำ ตามปริมาณที่แพทย์ กำหนด ป้องกันหัวใจวาย
ไม่ทานอาหารเค็ม หมักดอง ผงฟูจะทำให้เกิด การบวมและหัวใจทำงานหนัก
รับประทานน้อยแต่บ่อยครั้ง
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
ไม่ให้เด็กร้องไห้เป็นเวลานาน
งดเล่นที่ใช้แรงที่มีการแข่งขัน
ป้องกันไม่ให้เด็กท้องผูก
เช็ดตัวลดไข้ทุกครั้งเมื่อมีไข้
รักษาความสะอาดปากฟัน มีฟันผุ ควรพบทันตแพทย์
การดูแลรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการ (Palliative surgery)
รัดให้ ขนาดของ Pulmonary artery มีขนาดเล็กลง ลดจานวน เลือดที่ไปยังปอดน้อยลง
การผ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติ ของหัวใจ (Corrective surgery)
ผ่าตัดเปิดรูรั่ว
เปิดหัวใจ (opened heart) และ ใช้เครื่องปอด – หัวใจเทียม (cardio-pulmonary bypass )
ภาวะแทรกซ้อน
หัวใจวาย
ความดันในหลอดเลือดที่ปอดสูง
ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ติดเชื้อที่หัวใจ
Atrial Septal Defect(ASD)
แบ่งประเภท
ASD ขนาดเล็ก ขนาดของ ASD มัก เล็กกว่า 8 มิลลิเมตร
ASD ขนาดปานกลาง
ASD ขนาดใหญ่
อาการและอาการแสดง
ถ้ามีการไหลลัดของเลือดมากจะมี อาการอ่อนเพลีย
เหนื่อยง่ายขณะออกกำลังกาย
right ventricular heave ฟังเสียว หัวใจจะได้เสียง S2 เป็นเสียงแยก
ได้ยินเสียง Systolic ejection murmur
ได้ยิน inflow mid-diastolic murmur ชัดที่บริเวณขอบซ้าย
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
การติดเชื้อในระบบหายใจบ่อยๆดูด นมใช้เวลานาน
ตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายจะฟังได้เสียง Systolic ejection murmur ในเด็กอายุมากกว่า 2 ปี
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram)
เอเตรียมขวามีกานขยายตัว และเวน ตริเคิล ขวามีการหนาตัว
ภาพรังสีทรวงอก (Chest roentgenograms)
พบหัวใจโตไปทางขวา
การรักษา
การดูแลรักษาในระหว่างที่ยังไม่ได้รับการ ผ่าตัด
ทานยาป้องกันภาวะหัวใจวายและไม่ หยุดยาเอง
ทานนม น้ำ ตามปริมาณที่แพทย์ กำหนด ป้องกันหัวใจวาย
ไม่ทานอาหารเค็ม หมักดอง ผงฟูจะ ทำให้เกิดการบวมและหัวใจทำงาน หนัก
รับประทานน้อยแต่บ่อยครั้ง
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
ไม่ให้เด็กร้องไห้เป็นเวลานาน
งดเล่นที่ใช้แรงที่มีการแข่งขัน
ผ่าตัดปิดรูรั่ว
การสวนหัวใจ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหัวใจวาย
ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ภาวะติดเชื้อที่หัวใจ
Patent Ductus Arteriosus
สาเหตุ
การคลอดก่อนกำหนด
ขาดออกซิเจนขณะคลอด
มารดาที่มีการติดเชื้อหัดเยอรมัน หรือการได้รับสารต่างๆ
อาการและอาการแสดง
มักไม่พบอาการผิดปกติ หรืออาจพบ โดยบังเอิญ
เส้นเลือดเกินขนาดกลางหรือขนาด ใหญ่มักมีอาการหัวใจวาย
เหนื่อยหอบ
กระสับกระส่าย
ปัสสาวะออกน้อย
หายใจลำบาก
ความดันในปอดต่ำ ปอดเข้าปอด เยอะ เกิดหัวใจวาย
การวินิจฉัย
การซักประวัติผู้ป่วย PDA มักมี ประวัติการติดเชื้อในระบบหายใจ บ่อยๆ
การตรวจร่างกาย
คลาชีพจรได้แรง hyperactive precordium
คลำได้ thrillขอบซ้ายของกระดูกอก
ฟังเสียง continuous murmur ได้ ชัดเจนที่ขอบซ้ายของกระดูกอกตอน บน
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram)
ภาพรังสีทรวงอก (Chest roentgenograms)
การตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ ความถี่สูง จาก 2-D echocardiography
การรักษา
ยา
รักษาเพื่อปิดเส้นเลือดเกิน คือ ยาอิน โดเมทาซิน
ทารกที่เกิดก่อนกาหนด และมีอายุ น้อยกว่า 2 วัน
ทารกที่อายุเกิน 50 วันแล้วจะใช้ไม่ ได้ผล
ปัสสาวะน้อยลงอาการ สำคัญที่ แสดงถึงการมีภาวะไตวาย
การให้ยาเพื่อควบคุมและป้องกัน ภาวะหัวใจวาย
digoxinเพื่อช่วยบีบตัวให้หัวใจบีบ ตัวได้ดีขึ้นและให้ยาขับปัสสาวะ เช่น Lasix ,Aldactone
การผ่าตัด ในเด็กที่ไม่มีอาการหัวใจ วายจะทาผ่าตัดเมื่ออายุ 6 เดือนขึ้น ไป
การรักษาด้วยการทาสวนหัวใจ
ศศิประภา ภิญโญยาง 611201140